วันพุธที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2560

อยากรู้ : การ Optimize สูตรการผลิตอาหารสัตว์ โดยมีกำไรสูงสุด (3)

อยากรู้ :  การ Optimize สูตรการผลิตอาหารสัตว์ โดยมีกำไรสูงสุด (2)
Series :  Easy Production - Thailand 4.0

เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้

---------------------------------------------------------------------------

การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล  (Model)  ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
  1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
  2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล

---------------------------------------------------------------------------         

ตัวอย่างการ optimize สูตรผลิตอาหารสัตว์ ให้มีกำไรมากที่สุด

เจ้าของโรงงานผลิตอาหารสัตว์ ต้องการใช้วัตถุดิบที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ทางด้านการค้าสูงสุด โดยมีเงื่อนไขทางด้านของราคาขายของสินค้า, ราคาต้นทุนของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต,  stock ของวัตถุดิบที่มีอยู่ และเปอร์เซนต์การใช้วัตถุดิบของสินค้าแต่ละชนิด ที่มีการกำหนดขอบเขตเป็นช่วง

ข้อมูลมีดังนี้

มีวัตถุดิบ 3 ชนิด ที่ใช้ในการผลิตอาหารสำเร็จรูป 2 ชนิด

• ราคาต่อหน่วยของวัตถุดิบแต่ละชนิด
ปลาป่น (R1)        2.5 บาท / กิโลกรัม
มันเส้น (R2)              2.6 บาท / กิโลกรัม
กากถั่วเหลือง (R3)      2.84 บาท / กิโลกรัม

• ราคาขายของสินค้า 2 ชนิด ที่ใช้วัตถุดิบร่วมกัน
      สินค้า A       2.9 บาท / กิโลกรัม
    สินค้า B       3 บาท / กิโลกรัม

• Stock ของวัตถุดิบ ณ เวลาปัจจุบัน
ปลาป่น (R1)  5000 กิโลกรัม
มันเส้น (R2)  10000 กิโลกรัม
กากถั่วเหลือง (R3)  10000 กิโลกรัม

• สินค้า A ต้องการสัดส่วนของวัตถุดิบแต่ละชนิด ดังนี้
20% < ปลาป่น (R1) < 30%
40% < มันเส้น (R2) < 50%
10% < กากถั่วเหลือง (R3) < 20%

•สินค้า B ต้องการสัดส่วนของวัตถุดิบแต่ละชนิด ดังนี้
25% < ปลาป่น (R1) < 40%
30% < มันเส้น (R2) < 45%
30% < กากถั่วเหลือง (R3) < 40%

• ต้องผลิตสินค้า A ไม่ต่ำกว่า 10000 กิโลกรัม

จากข้อมูลดังกล่าว เจ้าของโรงงาน ต้องคิดหาโมเดลมาจำลองข้อมูลเพื่อให้ได้สูตรอาหารตามเงื่อนไขมาตรฐานการผลิต โดยมีกำไรมากสุด


ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ

--------------------------------------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก

https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com



วันอังคารที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2560

อยากรู้ : การ Optimize สูตรการผลิตอาหารสัตว์ โดยมีกำไรสูงสุด (2)

อยากรู้ :  การ Optimize สูตรการผลิตอาหารสัตว์ โดยมีกำไรสูงสุด (2)
Series :  Easy Production - Thailand 4.0

เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้

---------------------------------------------------------------------------

การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล  (Model)  ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
  1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
  2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล

---------------------------------------------------------------------------       

ตัวอย่างการ optimize สูตรผลิตอาหารสัตว์ ให้มีกำไรมากที่สุด

เจ้าของโรงงานผลิตอาหารสัตว์ ต้องการใช้วัตถุดิบที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ทางด้านการค้าสูงสุด โดยมีเงื่อนไขทางด้านของราคาขายของสินค้า, ราคาต้นทุนของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต,  stock ของวัตถุดิบที่มีอยู่ และเปอร์เซนต์การใช้วัตถุดิบของสินค้าแต่ละชนิด ที่มีการกำหนดขอบเขตเพียงด้านเดียว (> or <)

ข้อมูลมีดังนี้

มีวัตถุดิบ 3 ชนิด ที่ใช้ในการผลิตอาหารสำเร็จรูป 2 ชนิด

• ราคาต่อหน่วยของวัตถุดิบแต่ละชนิด
ปลาป่น (R1)        2.5 บาท / กิโลกรัม
มันเส้น (R2)              2.6 บาท / กิโลกรัม
กากถั่วเหลือง (R3)      2.84 บาท / กิโลกรัม

• ราคาขายของสินค้า 2 ชนิด ที่ใช้วัตถุดิบร่วมกัน
      สินค้า A       2.9 บาท / กิโลกรัม
    สินค้า B       3 บาท / กิโลกรัม

• Stock ของวัตถุดิบ ณ เวลาปัจจุบัน
ปลาป่น (R1)  5000 กิโลกรัม
มันเส้น (R2)  10000 กิโลกรัม
กากถั่วเหลือง (R3)  10000 กิโลกรัม

• สินค้า A ต้องการสัดส่วนของวัตถุดิบแต่ละชนิด ดังนี้
ปลาป่น (R1)       < 30 %
มันเส้น (R2)        > 40 %
กากถั่วเหลือง (R3)  < 20 %

•สินค้า B ต้องการสัดส่วนของวัตถุดิบแต่ละชนิด ดังนี้
ปลาป่น (R1)       > 25 %
มันเส้น (R2)       < 45 %
กากถั่วเหลือง (R3)  > 30 %

จากข้อมูลดังกล่าว เจ้าของโรงงาน ต้องคิดหาโมเดลมาจำลองข้อมูลเพื่อให้ได้สูตรอาหารตามเงื่อนไขมาตรฐานการผลิต โดยมีกำไรมากสุด


ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ

--------------------------------------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com




วันอาทิตย์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560

อยากรู้ : ขั้นตอนในโรงสี จากข้าวเปลือก เป็นข้าวสาร

อยากรู้ : ขั้นตอนในโรงสี จากข้าวเปลือก เป็นข้าวสาร
Series : Easy Production - Thailand 4.0

เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้นเพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาจะแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้

เมืองไทยมีแหล่งปลูกข้าวหอมมะลิชั้นดี อยู่ที่ทุ่งกุลาร้องไห้ มีพื้นที่กว่า 2 ล้านไร่ ข้าวหอมจึงถือเป็นพืชเศรษฐกิจหลัก บทความนี้จึงขอกล่าวถึงกระบวนการนำข้าวมาสีเพื่อให้ได้ข้าวขาวหอม ที่เราใช้รับประทานกัน  ย้อนหลังไปราว 40 ปีที่แล้ว ข้าวสารแห้งที่ขายกันตามร้านค้า บางทีก็เรียกร้านข้าวสาร มีการขายเป็นกระสอบป่าน ที่มีขนาดบรรจุ 100 กิโลกรัม ครอบครัวที่มีสมาชิกมาก จะสั่งจากร้านค้าทีละกระสอบ และมีจับกังที่ประจำตามร้านค้านั้น แบกมาส่งให้ที่บ้าน แต่ในปัจจุบันครอบครัวมีขนาดเล็กลง การซื้อทีละกระสอบ คงไม่สะดวก ดังนั้นเราจึงเห็นตามร้านค้าทั่วไป มีการขายข้าวสารที่มีถุงขนาดเล็กลง และเป็นมาตรฐาน ประมาณ 5 กิโลกรัม เพื่อสะดวกในการหยิบซื้อ
         
  เนื่องจากวัตถุดิบทางด้านการเกษตร มีความผันผวนค่อนข้างสูง บางครั้งก็มีราคาสูง บางครั้งก็มีราคาต่ำ ดังนั้น การคิดหาวิธีที่จะรับรู้ต้นทุนการผลิตที่สามารถสะท้อนตามราคาวัตถุดิบได้อย่างรวดเร็ว อาจเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยบริหารและลดความเสี่ยงต่างๆ ในโรงงานได้

  ในระบบการผลิตข้าวสาร ผู้ใช้งานสามารถเลือกบันทึกข้อมูลการผลิตได้ ทั้งแบบที่ไม่ต้องมีใบสั่งผลิต โดยเก็บต้นทุนรายเดือน (period base) หรือแบบที่ต้องมีใบสั่งผลิต (order base) โดยจุดสำคัญคือ สินค้าหรือสินค้ากึ่งสำเร็จรูป ที่อยู่ในแต่ละขั้นตอนการผลิต ได้ทำการออกแบบราคาต้นทุน (Price)ในรูปแบบของ moving average  และเมื่อทำการรับสินค้าหรือสินค้ากึ่งสำเร็จรูปจากการผลิตในแต่ละจุด โปรแกรมต้องสั่งให้ระบบทำการ settlement ทันที เพื่อนำผลต่างที่เกิดจากการผลิต ไปปรับราคาโดยอัตโนมัติให้เร็วที่สุด 

ข้าวสารในแต่ละถุง กว่าจะได้มา ต้องผ่านกระบวนการหลายขั้นตอน สำหรับในบทความนี้ จะกล่าวถึงกระบวนการผลิต ที่เริ่มตั้งแต่ ได้รับข้าวเปลือกที่ชาวนานำมาขายให้กับโรงสี

              ในกระบวนการผลิตข้าวสาร แบ่งเป็น 2 กระบวนการใหญ่ๆ ทำงานต่อเนื่องกัน
- กระบวนการแรก เรียกว่า โรงสี
- กระบวนการถัดมา เรียกว่า โรงปรับปรุง
--------------------------------------------------------------------------------------------
           
             รายละเอียดของกระบวนการในโรงสี มีดังต่อไปนี้

ขั้นตอนที่ 1 : นำข้าวเปลือก มาผ่านเครื่องทำความสะอาด เพื่อให้ได้ข้าวเปลือกแห้งสะอาด โดยมีผลพลอยได้ คือ แกลบ

ขั้นตอนที่ 2 : นำข้าวเปลือกแห้งสะอาด มาผ่านเครื่องนึ่ง เพื่อให้ได้ข้าวเปลือกนึ่ง

ขั้นตอนที่ 3 : นำข้าวเปลือกนึ่ง มาผ่านเครื่องกะเทาะ เพื่อให้ได้ข้าวกล้อง โดยมีผลพลอยได้ คือ แกลบ
         
ขั้นตอนที่ 4 : นำข้าวกล้อง มาผ่านเครื่องขัดขาว เพื่อให้ได้ข้าวหอม โดยมีผลพลอยได้ คือ รำ ข้าวหอมหักใหญ่ ข้าวหอมหักกลาง ข้าวหอมหักเล็ก
         
สรุปว่า สิ่งสุดท้ายที่ได้จากโรงสีคือข้าวหอม ที่ผ่านขั้นตอนที่ 4 นั่นเอง และถูกเก็บไว้ในกระสอบขนาดใหญ่ เพื่อรอขนส่งไปยังกระบวนการถัดไป สำหรับผลพลอยได้ จะถูกรวบรวม เพื่อนำไปจำหน่ายได้

--------------------------------------------------------------------------------------------
       
ในกระบวนการถัดมา คือนำข้าวหอม มาขัดอีกรอบ ให้ได้ข้าวขาวหอม และบรรจุถุงขนาดมาตรฐาน เพื่อส่งจำหน่ายตามร้านค้า ในกระบวนการนี้ เกิดขึ้นที่โรงปรับปรุง ซึ่งจะเป็นคนละพื้นที่แยกจากโรงสี จึงต้องมีการเคลื่อนย้ายข้าวหอมระหว่างโรงสี มายังโรงปรับปรุง สำหรับกระบวนการผลิตที่โรงปรับปรุง อาศัยหลักการแรงโน้มถ่วงโลก โดยการตั้งเป็นหอสูง และทำการดูดข้าวหอมที่รอการขัด ไปเทที่ชั้นสูงสุดเพื่อไหลลงเข้าเครื่องขัดขาว
แบ่งเป็น 2 ขั้นตอนย่อยดังนี้
       
ขั้นตอนที่ 1 : นำข้าวหอม ผ่านเครื่องขัด เพื่อให้ได้ข้าวขาวหอม ที่ผ่านการคัดเลือกในส่วนของความสมบูรณ์ของแต่ละเมล็ด โดยมีผลพลอยได้ คือ ข้าวขาวหอมหักกลาง และ ข้าวขาวหอมหักปลาย ซึ่งจะถูกแยกขายเป็นสินค้าอีกชนิดหนึ่ง
         
ขั้นตอนที่ 2 : นำข้าวขาวหอมที่ผ่านการคัดเลือกแล้ว ผ่านเครื่องบรรจุถุงขนาดมาตรฐาน และนำไปจัดเก็บที่โกดังสินค้า

ดังนั้นสิ่งที่ได้รับจากโรงปรับปรุง คือ ข้าวขาวหอม ที่พร้อมจำหน่ายนั่นเอง

--------------------------------------------------------------------------------------------
     
ในกระบวนการผลิตที่เป็นลักษณะของการผ่านถังพักรอขนาดใหญ่ ที่เป็นลักษณะไซโล  ในหลายๆ บริษัทจะพบการใช้ software SCADA ที่ควบคุมการเปิด-ปิด ถังเหล่านี้ และสามารถบันทึกการใช้งาน และผลผลิตที่ได้ด้วย ข้อมูลเหล่านี้ สามารถเลือกเก็บไว้ในหลายลักษณะ เช่น เก็บเป็น text file หรือ เก็บเข้าสู่ระบบ database
         
ดังนั้นหากต้องการส่งข้อมูลเหล่านี้เพื่อไปบันทึกในระบบ ERP ผู้ใช้งานจำเป็นต้องสร้างระบบ middleware ที่เป็นตัวกลางในการติดต่อ ระหว่างระบบ SCADA กับ ระบบ ERP  เพื่อทำหน้าที่ในการรับ-ส่ง ข้อมูลระหว่าง 2 ระบบให้มีความถูกต้องและสอดคล้องกัน

--------------------------------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความนี้ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com


วันเสาร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2560

อยากรู้ : การ Optimize สูตรการผลิตอาหารสัตว์ โดยมีต้นทุนต่ำสุด (1)

อยากรู้ :  การ Optimize สูตรการผลิตอาหารสัตว์ โดยมีต้นทุนต่ำสุด (1)
Series :  Easy Production - Thailand 4.0

เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้

---------------------------------------------------------------------------

การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล  (Model)  ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่

- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
   1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
   2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล

---------------------------------------------------------------------------         

ตัวอย่างการ optimize สูตรผลิตอาหารสัตว์ ให้ถูกที่สุด

เจ้าของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ต้องการผสมอาหารสัตว์เอง โดยพิจารณาเงื่อนไขทางด้านของคุณค่าทางโภชนาการ และราคาต้นทุนที่ต้องใช้ของวัตถุดิบแต่ละชนิด

ข้อมูลประกอบที่มีให้คือ
ราคาต่อหน่วยของวัตถุดิบแต่ละชนิด
คุณค่าของสารอาหารในวัตถุดิบต่างๆ ได้แก่ %โปรตีน, %ไขมัน  และค่าพลังงานที่ได้รับจากวัตถุดิบ

จากข้อมูลดังกล่าว เจ้าของฟาร์มต้องคิดหาโมเดลมาจำลองข้อมูลเพื่อให้ได้สูตรอาหารตามเงื่อนไขมาตรฐานการผลิต โดยใช้ต้นทุนน้อยสุด

ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ

--------------------------------------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com


วันอาทิตย์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2560

อยากรู้ : การ Optimize แผนการจัดหาวัตถุดิบให้กับแต่ละโรงงาน โดยมีต้นทุนต่ำสุด

อยากรู้ การ Optimize แผนการจัดหาวัตถุดิบให้กับแต่ละโรงงาน
Series :  Easy Production - Thailand 4.0

เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้

---------------------------------------------------------------------------

การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล  (Model)  ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
-     
    1.Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
        พื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
2.Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
3.Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล

---------------------------------------------------------------------------         

ตัวอย่างการ optimize แผนการจัดหาวัตถุดิบให้แต่ละโรงงาน โดยให้มีต้นทุนต่ำสุด

บริษัท แห่งหนึ่ง มีโรงงานในเครือ 5 แห่ง และมีความต้องการใช้วัตถุดิบ ที่มี supplier ส่งมอบวัตถุดิบได้ 3 ราย ในครั้งนั้นฝ่ายวางแผนได้นำแผนการจัดหา มาทำการวางแผนโดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม ดังต่อไปนี้

1. Factory แต่ละที่ ต้องการใช้วัตถุดิบ ดังนี้
      F1=1000 ตัน
      F2=800 ตัน
      F3=1500 ตัน
      F4=1200 ตัน
      F5=1400 ตัน
2. Supplier แต่ละราย มีกำลังการผลิตดังนี้
      S1 = 2000 ตัน
      S2 = 2600 ตัน
      S3 = 1500 ตัน
3. ราคาวัตถุดิบของแต่ละ Supplier ขี้นกับที่ตั้ง Factory ที่จะส่ง    
4. Supplier1 จะส่งว้ตถุดิบให้โรงงาน ที่มีการสั่งจำนวนมากกว่า 900 ตัน เท่านั้น
5. Supplier2 จะส่งวัตถุดิบ เกินกว่า 1200 ตัน ได้แค่โรงงานเดียว
6. Supplier3 จะส่งวัตถุดิบให้ เมื่อทุกโรงงานสั่งรวมกัน ได้ 500, 1000 หรือ 1500
    เท่านั้น

จากข้อมูลดังกล่าว ฝ่ายวางแผนต้องการคำนวณว่าจะต้องสั่งซื้อจากแต่ละ supplier เป็นจำนวนเท่าใด เพื่อให้มีต้นทุนต่ำสุดในการซื้อครั้งนั้นต่ำสุด
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ

--------------------------------------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก

https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com




วันเสาร์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2560

อยากรู้ : การ Optimize แผนการผลิตรายวัน ให้สั้นที่สุด

อยากรู้ การ Optimize แผนการผลิตรายวัน ให้สั้นที่สุด
Series :  Easy Production - Thailand 4.0

เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้

---------------------------------------------------------------------------

การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล  (Model)  ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
-      
    - Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
        2.พื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล

--------------------------------------------------------------------------         

ตัวอย่างการ optimize แผนการผลิตให้สั้นที่สุด

โรงงานแห่งหนึ่ง ทำการผลิตสินค้า 28 ชนิด ในครั้งนั้นฝ่ายวางแผนได้นำแผนการผลิตภายในหนึ่งวัน มาทำการวางแผนการผลิตและจัดลำดับ

ข้อมูลประกอบที่มีให้คือ
·        Routing (ขั้นตอนและเวลา) ในการผลิตสินค้าแต่ละชนิด
·        ในแต่ละขั้นตอน กำหนดให้เครื่องจักรสามารถผลิตสินค้าได้ทีละชนิด (ห้ามผลิตสินค้าพร้อมกันในเครื่องจักรเดียวกัน)

จากข้อมูลดังกล่าว ฝ่ายวางแผนต้องการให้การผลิตในวันดังกล่าว ใช้เวลาน้อยที่สุด ดังนั้นฝ่ายวางแผนต้องคิดหาโมเดลมาจำลองข้อมูลการผลิตภายในวัน โดยใช้เวลาสั้นที่สุด

ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ

--------------------------------------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก

https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com








อยากรู้ : การ Optimize แผนการผลิตรายสัปดาห์

อยากรู้ การ Optimize แผนการผลิตรายสัปดาห์
Series :  Easy Production - Thailand 4.0

เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้

---------------------------------------------------------------------------

การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล  (Model)  ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
-         Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.   เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.   พื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
-         Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
-         Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล

---------------------------------------------------------------------------         

ตัวอย่างการ optimize แผนการผลิตรายสัปดาห์

โรงงานแห่งหนึ่ง ทำการผลิตสินค้า 28 ชนิด ในครั้งนั้นฝ่ายขายได้รวบรวมข้อมูล Sales forecast ล่วงหน้า 1 สัปดาห์ มาให้กับฝ่ายวางแผน เพื่อวางแผนการผลิตในแต่ละวัน โดยที่ฝ่ายขายได้ส่งยอด Firm Sales มาล่วงหน้า 1 วันด้วย

ข้อมูลประกอบที่มีให้คือ
·        Routing (ขั้นตอนและเวลา) ในการผลิตสินค้าแต่ละชนิด
·        กำไรของสินค้าแต่ละชนิด
·        ต้นทุนการจัดเก็บสินค้าแต่ละชนิด
·        ต้นทุนของการเปลี่ยนโมเดลสินค้า (setup cost)

จากข้อมูลดังกล่าว ฝ่ายวางแผนต้องการให้การผลิตทั้งสัปดาห์ มีความสูญเสียในเรื่องของโอกาสและต้นทุนต่างๆ น้อยที่สุด ดังนั้นจึงคิดหาโมเดลมาจำลองข้อมูลการผลิตแต่ละวันในสัปดาห์ให้ดีที่สุด

ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ

--------------------------------------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com





วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

อยากรู้ : การ Optimize การตัดแผ่นวัสดุ ให้เหลือเศษน้อยสุด

อยากรู้ การ Optimize การตัดแผ่นวัสดุ ให้เหลือเศษน้อยสุด
Series :  Easy Production - Thailand 4.0

เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้

---------------------------------------------------------------------------

การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล  (Model)  ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่

-         Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.   เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.   พื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
-         Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
-         Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล

---------------------------------------------------------------------------         

ตัวอย่างการ optimize จำนวนม้วนผ้าให้ใช้น้อยสุด

เจ้าของโรงงานทอผ้า ผลิตผ้าหน้ากว้างมาตรฐาน โดยมีความยาวแต่ละม้วน 60 เมตร

มีลูกค้าต้องการผ้าหน้ากว้างมาตรฐาน แต่ความยาวแตกต่างกันดังนี้

ต้องการผ้าความยาว 12 เมตร จำนวน 40 ม้วน
ต้องการผ้าความยาว 18 เมตร จำนวน 30 ม้วน
ต้องการผ้าความยาว 24 เมตร จำนวน 40 ม้วน
ต้องการผ้าความยาว 40 เมตร จำนวน 20 ม้วน
ต้องการผ้าความยาว 60 เมตร จำนวน 15 ม้วน

เจ้าของโรงงานต้องการใช้ผ้าม้วนมาตรฐานน้อยที่สุด และแจ้งคนงาน ให้นำผ้าจากม้วนมาตรฐาน 60 เมตร มาตัดเป็นม้วนย่อยๆ ตามคำสั่งลูกค้า

ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ

--------------------------------------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก

https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com






วันพุธที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

อยากรู้ : การ Optimize พื้นที่เพาะปลูก ให้ได้กำไรสูงสุด

อยากรู้ การ Optimize พื้นที่เพาะปลูก ให้ได้กำไรสูงสุด
Series :  Easy Production - Thailand 4.0

เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้

-------------------------------------------------------------------------------------------

การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล  (Model)  ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่

-         Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.   เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.   พื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด 
-         Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ 
-         Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล

-----------------------------------------------------------------------------------------        
ตัวอย่างการ optimize พื้นที่เพาะปลูกเพื่อให้ได้กำไรสูงสุด

ชาวไร่มีพื้นที่เพาะปลูก 500 ไร่ สำหรับปลูกมันสำปะหลัง ข้าวโพด และอ้อย เพื่อขายและใช้เลี้ยงปศุสัตว์

ราคาขายของมันสำปะหลัง ข้าวโพด และอ้อย เป็น 2300, 6000 และ 1000 บาทต่อตัน

อย่างไรก็ตามปริมาณอ้อยที่ขายได้มากกว่า 600 ตัน จะได้ราคาขายที่  700 บาทต่อตัน เนื่องจากกฎระเบียบทางการเกษตร

ชาวไร่ มีความจำเป็นในการใช้มัน และข้าวโพดเป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ฟาร์ม โดยต้องการ มันสำปะหลัง  40 ตัน และ ข้าวโพด  90 ตัน

โดยถ้าซื้อจากตลาด มันสำปะหลังและข้าวโพด จะมีราคาที่ 3000 บาทต่อตัน และ 7000 บาทต่อตัน ตามลำดับ

ต้นทุนการเพาะปลูกต่อไร่สำหรับมันสำปะหลัง ข้าวโพด และอ้อย คือ 1500, 2000 และ 1700  บาท ตามลำดับ

ผลผลิตเฉลี่ยของพืชทั้ง 3 ชนิดนี้ ได้แก่ มันสำปะหลัง 3.6 ตัน / ไร่   ข้าวโพด 0.7 ตัน / ไร่ และอ้อย 11 ตัน / ไร่

ชาวนาควรจะจัดการพื้นที่ในการปลูกพืชอย่างไร จึงจะมีกำไรสูงสุด

ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก

https://www.facebook.com/ConsultChorn

https://consultchorn.blogspot.com