วันจันทร์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2561
อยากรู้ : การวางแผนกำไรปีหน้า
อยากรู้ : การวางแผนกำไรปีหน้า
Series : Easy Production - Thailand 4.0
------------------------------------------------------------------
ในปลายปีของแต่ละปี ผู้บริหารในส่วนงานต่างๆ จะมาประชุมเพื่อกำหนดเป้าหมายของบริษัทร่วมกัน ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ เป้าหมายยอดขายปีหน้า ซึ่งหมายถึงกำไรที่จะมาพร้อมกับยอดขายที่วางไว้
แต่ในสภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน ทั้งค่าจ้างคนงาน ค่าวัตถุดิบ อาจทำให้ธุรกิจไปไม่ถึงฝั่ง ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องพิจารณาเงินหมุนเวียนในการดำเนินกิจการด้วย
---------------------------------------------------------------------------
ในบทความนี้ จึงขอเสนอวิธีการที่ธุรกิจสามารถนำไปประยุกต์ โดยพิจารณาถึงปัจจัยรอบด้าน เพื่อให้ได้กำไรมากสุด
---------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
Youtube: คุยเฟื่อง เรื่องผลิต
https://consultchorn.blogspot.com
วันอาทิตย์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2561
อยากรู้ : วิธีลงทุนหุ้นกู้
อยากรู้ : วิธีลงทุนหุ้นกู้
Series : Easy Production - Thailand 4.0
------------------------------------------------------------------
เพื่อนๆ มาปรึกษาว่าจะลงทุนหุ้นกู้อย่างไรดี ผมจึงไปช่วยหาข้อมูลเกี่ยวกับหุ้นกู้ และทำการจำลองการลงทุนให้ดู
ในแบบจำลองได้ใช้ logic ของการ optimization มาช่วยคำนวณให้เกิดการวางแผนแบบ Yield-Gain เพื่อดู Output ที่ดีที่สุด ภายใต้เงื่อนไขต่างๆ ที่ผู้ลงทุนต้องการ และป้อนลงในโมเดล
ผลลัพธ์จากการจำลองนี้ อาจช่วยให้เห็นผลตอบแทนที่ควรจะได้ในอนาคต
* การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรศึกษาอย่างละเอียดด้วยตัวเอง
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่าง video ที่แสดงการทำงานเบื้องต้น อาจเป็นแนวทางช่วยค้นหา solution ได้บ้างครับ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
Youtube: คุยเฟื่อง เรื่องผลิต
https://consultchorn.blogspot.com
Series : Easy Production - Thailand 4.0
------------------------------------------------------------------
เพื่อนๆ มาปรึกษาว่าจะลงทุนหุ้นกู้อย่างไรดี ผมจึงไปช่วยหาข้อมูลเกี่ยวกับหุ้นกู้ และทำการจำลองการลงทุนให้ดู
ในแบบจำลองได้ใช้ logic ของการ optimization มาช่วยคำนวณให้เกิดการวางแผนแบบ Yield-Gain เพื่อดู Output ที่ดีที่สุด ภายใต้เงื่อนไขต่างๆ ที่ผู้ลงทุนต้องการ และป้อนลงในโมเดล
ผลลัพธ์จากการจำลองนี้ อาจช่วยให้เห็นผลตอบแทนที่ควรจะได้ในอนาคต
* การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรศึกษาอย่างละเอียดด้วยตัวเอง
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่าง video ที่แสดงการทำงานเบื้องต้น อาจเป็นแนวทางช่วยค้นหา solution ได้บ้างครับ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
Youtube: คุยเฟื่อง เรื่องผลิต
https://consultchorn.blogspot.com
วันเสาร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2561
อยากรู้ : การตัดม้วนกระดาษหลายขนาดจากม้วนใหญ่ ให้เหลือเศษน้อยสุด
อยากรู้ : การตัดม้วนกระดาษหลายขนาดจากม้วนใหญ่ ให้เหลือเศษน้อยสุด
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
ในอุตสาหกรรมการผลิตกระดาษ มักจะพบปัญหาเศษเหลือจากการตัดหรือ slit ม้วนกระดาษขนาดใหญ่ (Jumbo roll ) ให้มีขนาดเล็กลง (Reel)
ซึ่งเมื่อนำระบบ ERP มาช่วยวางแผน แบบ Top-down อาจไม่ได้ช่วยในการวางแผน
ดังนั้น ผมจึงเสนอวิธีการแบบผสมผสานโดยใช้ logic ของการ optimization มาช่วยคำนวณให้เกิดการวางแผนแบบ Bottom-up ขึ้นไป จาก demand ของ component ที่เราต้องการ
ผลลัพธ์จากวิธีการนี้ จะนำไปสู่การวางแผนโดยอาศัย master data บนระบบ ERP อีกรอบนึง โดยอาศัยฟังก์ชั่นพิเศษ บางอย่างบนระบบ ERP เช่น การกำหนดให้ BOM มี co-product และ by-product เพื่อให้ช่วยในการรับ output เป็นไปตามที่กำหนดไว้
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่าง video ที่แสดงการทำงานเบื้องต้น อาจเป็นแนวทางช่วยค้นหา solution ได้บ้างครับ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
Youtube: คุยเฟื่อง เรื่องผลิต
https://consultchorn.blogspot.com
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
ในอุตสาหกรรมการผลิตกระดาษ มักจะพบปัญหาเศษเหลือจากการตัดหรือ slit ม้วนกระดาษขนาดใหญ่ (Jumbo roll ) ให้มีขนาดเล็กลง (Reel)
ซึ่งเมื่อนำระบบ ERP มาช่วยวางแผน แบบ Top-down อาจไม่ได้ช่วยในการวางแผน
ดังนั้น ผมจึงเสนอวิธีการแบบผสมผสานโดยใช้ logic ของการ optimization มาช่วยคำนวณให้เกิดการวางแผนแบบ Bottom-up ขึ้นไป จาก demand ของ component ที่เราต้องการ
ผลลัพธ์จากวิธีการนี้ จะนำไปสู่การวางแผนโดยอาศัย master data บนระบบ ERP อีกรอบนึง โดยอาศัยฟังก์ชั่นพิเศษ บางอย่างบนระบบ ERP เช่น การกำหนดให้ BOM มี co-product และ by-product เพื่อให้ช่วยในการรับ output เป็นไปตามที่กำหนดไว้
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่าง video ที่แสดงการทำงานเบื้องต้น อาจเป็นแนวทางช่วยค้นหา solution ได้บ้างครับ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
Youtube: คุยเฟื่อง เรื่องผลิต
https://consultchorn.blogspot.com
วันอังคารที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2561
อยากรู้ : ธนาคารปิดสาขา คิดจากอะไร
อยากรู้ : ธนาคารปิดสาขา คิดจากอะไร
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
ในยุคที่ธนาคารต้องปรับตัว เข้าสู่ยุคดิจิตอลอย่างเต็มตัว การวัดประสิทธิภาพของแต่ละสาขา เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง
เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปให้ธนาคารแต่ละสาขาปรับปรุงและแก้ไข ก่อนการตัดสินใจสำคัญใดๆ
การใช้วิธีวิเคราะห์ที่มีหลักการ สามารถช่วยให้เกิดความยุติธรรมในการทำงาน เพื่อลดความลำเอียงที่จะเกิดขึ้น
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่าง เช่น พัลลพ ผู้เข้าทำงานวันแรก ได้รับมอบหมายให้ไปศึกษาว่าธนาคารสาขาใดบ้างที่มีประสิทธิภาพไม่ดีพอ ทั้งนี้ผลที่ได้ พัลลพ จะต้องแจ้งไปยังสาขานั้นๆ เพื่อปรับปรุงตัวก่อน
ดังนั้นพัลลพจึงต้องหาวิธี ที่จะทำให้การตัดสินใจในครั้งนี้ มีความถูกต้องที่สุด และทำให้พนักงานมีงานทำต่อไปได้
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
--------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
Youtube : คุยเฟื่อง เรื่องผลิต
https://consultchorn.blogspot.com
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
ในยุคที่ธนาคารต้องปรับตัว เข้าสู่ยุคดิจิตอลอย่างเต็มตัว การวัดประสิทธิภาพของแต่ละสาขา เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง
เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปให้ธนาคารแต่ละสาขาปรับปรุงและแก้ไข ก่อนการตัดสินใจสำคัญใดๆ
การใช้วิธีวิเคราะห์ที่มีหลักการ สามารถช่วยให้เกิดความยุติธรรมในการทำงาน เพื่อลดความลำเอียงที่จะเกิดขึ้น
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่าง เช่น พัลลพ ผู้เข้าทำงานวันแรก ได้รับมอบหมายให้ไปศึกษาว่าธนาคารสาขาใดบ้างที่มีประสิทธิภาพไม่ดีพอ ทั้งนี้ผลที่ได้ พัลลพ จะต้องแจ้งไปยังสาขานั้นๆ เพื่อปรับปรุงตัวก่อน
ดังนั้นพัลลพจึงต้องหาวิธี ที่จะทำให้การตัดสินใจในครั้งนี้ มีความถูกต้องที่สุด และทำให้พนักงานมีงานทำต่อไปได้
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
--------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
Youtube : คุยเฟื่อง เรื่องผลิต
https://consultchorn.blogspot.com
วันอาทิตย์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2561
อยากรู้ : การเชื่อมต่อระบบ SCADA กับ SAP
อยากรู้ : การเชื่อมต่อระบบ SCADA กับ SAP
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อแสดงตัวอย่างที่สามารถประยุกต์กับเหตุการณ์ปัจจุบัน
โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
ในอุตสาหกรรมการผลิตหลายๆ แห่ง ควบคุมการทำงานด้วย software ที่ชื่อว่า SCADA โดยทำหน้าที่ควบคุมเครื่องจักร เช่นการเปิด-ปิด วาล็ว
และสามารถบันทึกจำนวนวัตถุดิบที่ใช้และเวลาที่เกี่ยวข้องกับการทำงานด้วย โดยทำการเก็บค่าต่างๆ เหล่านั้นในรูปแบบต่างๆ เช่น text file, database, xml เป็นต้น
------------------------------------------------------------------
ในบทความนี้ กล่าวถึงวิธีการเชื่อมต่อข้อมูลที่เกิดจากระบบ SCADA และนำกลับมาบันทึกในระบบ SAP เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ยิ่งขึ้น
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Youtube Channel : คุยเฟื่อง เรื่องผลิต
Youtube Channel : สร้างงาน สร้างอาชีพ
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อแสดงตัวอย่างที่สามารถประยุกต์กับเหตุการณ์ปัจจุบัน
โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
ในอุตสาหกรรมการผลิตหลายๆ แห่ง ควบคุมการทำงานด้วย software ที่ชื่อว่า SCADA โดยทำหน้าที่ควบคุมเครื่องจักร เช่นการเปิด-ปิด วาล็ว
และสามารถบันทึกจำนวนวัตถุดิบที่ใช้และเวลาที่เกี่ยวข้องกับการทำงานด้วย โดยทำการเก็บค่าต่างๆ เหล่านั้นในรูปแบบต่างๆ เช่น text file, database, xml เป็นต้น
------------------------------------------------------------------
ในบทความนี้ กล่าวถึงวิธีการเชื่อมต่อข้อมูลที่เกิดจากระบบ SCADA และนำกลับมาบันทึกในระบบ SAP เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ยิ่งขึ้น
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Youtube Channel : คุยเฟื่อง เรื่องผลิต
Youtube Channel : สร้างงาน สร้างอาชีพ
วันอาทิตย์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2561
อยากรู้ : เลือกงานอย่างไร ให้ถูกใจ
อยากรู้ : เลือกงานอย่างไร ให้ถูกใจ
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม
โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ให้ผู้สนใจเลือกชมกันเอง
------------------------------------------------------------------
การตัดสินใจเลือกสิ่งที่ชอบ อาจมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาหลายอย่าง
เราสามารถใช้วิธี Analytic Hierarchy Process (AHP) มาช่วยในการตัดสินใจได้
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่าง เช่น พัลลพ ผู้ซึ่งสมัครงานไป 3 บริษํท ได้แก่
- Accanture
- Micholing
- KuBank
และได้รับการตอบรับเข้าทำงานจากทั้ง 3 บริษัท แล้ว
พัลลพ ต้องการนำวัตถุประสงค์หลักที่ตนเองสนใจ มาพิจารณาเพื่อช่วยให้การเลือกถูกใจยิ่งขึ้น ได้แก่
- เงินเดือน+benefit
- ความชอบส่วนตัว
- เป็นบริษัทข้ามชาติ
- ต้องการรู้หลากหลาย
- ใกล้บ้าน
ดังนั้นจึงต้องหาวิธี ที่จะทำให้การตัดสินใจในครั้งนี้ มีความถูกต้องที่สุด
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
-------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Youtube : สร้างงาน สร้างอาชีพ
Youtube : คุยเฟื่อง เรื่องผลิต
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม
โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ให้ผู้สนใจเลือกชมกันเอง
------------------------------------------------------------------
การตัดสินใจเลือกสิ่งที่ชอบ อาจมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาหลายอย่าง
เราสามารถใช้วิธี Analytic Hierarchy Process (AHP) มาช่วยในการตัดสินใจได้
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่าง เช่น พัลลพ ผู้ซึ่งสมัครงานไป 3 บริษํท ได้แก่
- Accanture
- Micholing
- KuBank
และได้รับการตอบรับเข้าทำงานจากทั้ง 3 บริษัท แล้ว
พัลลพ ต้องการนำวัตถุประสงค์หลักที่ตนเองสนใจ มาพิจารณาเพื่อช่วยให้การเลือกถูกใจยิ่งขึ้น ได้แก่
- เงินเดือน+benefit
- ความชอบส่วนตัว
- เป็นบริษัทข้ามชาติ
- ต้องการรู้หลากหลาย
- ใกล้บ้าน
ดังนั้นจึงต้องหาวิธี ที่จะทำให้การตัดสินใจในครั้งนี้ มีความถูกต้องที่สุด
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
-------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Youtube : สร้างงาน สร้างอาชีพ
Youtube : คุยเฟื่อง เรื่องผลิต
วันเสาร์ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2561
อยากรู้ : ลงทุนหุ้นอย่างไร ให้มีความเสี่ยงน้อยสุด
อยากรู้ : ลงทุนหุ้นอย่างไร ให้มีความเสี่ยงน้อยสุด
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อแสดงตัวอย่างที่สามารถประยุกต์กับเหตุการณ์ปัจจุบัน โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้ใช้ทรัพยากรให้น้อยที่สุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ในบทความนี้ ต้องการให้ผู้ลงทุนได้มีข้อมูลเพื่อตัดสินใจในการลงทุนหุ้นต่างๆ ให้มีความเสี่ยงน้อยสุด โดยสามารถกำหนดผลตอบแทนที่ต้องการได้รับ
ตัวแบบทดสอบใช้ model การคำนวณแบบ Nonlinear Programming
ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลให้ดีๆ ก่อน ไม่เช่นนั้นอาจเกิดความเสียหายได้ เงินทองหายากนะ จะบอกให้
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
---------------------------------------------------------------------------
ฺBlogger ไม่สามารถ upload file ได้ ท่านติดตามได้จาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
Youtube : คุยเฟื่อง เรื่องผลิต, คุยเฟื่อง เรื่องเพิ่มผลผลิต
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อแสดงตัวอย่างที่สามารถประยุกต์กับเหตุการณ์ปัจจุบัน โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้ใช้ทรัพยากรให้น้อยที่สุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ในบทความนี้ ต้องการให้ผู้ลงทุนได้มีข้อมูลเพื่อตัดสินใจในการลงทุนหุ้นต่างๆ ให้มีความเสี่ยงน้อยสุด โดยสามารถกำหนดผลตอบแทนที่ต้องการได้รับ
ตัวแบบทดสอบใช้ model การคำนวณแบบ Nonlinear Programming
ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลให้ดีๆ ก่อน ไม่เช่นนั้นอาจเกิดความเสียหายได้ เงินทองหายากนะ จะบอกให้
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
---------------------------------------------------------------------------
https://www.facebook.com/ConsultChorn
Youtube : คุยเฟื่อง เรื่องผลิต, คุยเฟื่อง เรื่องเพิ่มผลผลิต
วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
อยากรู้ : กลั่นน้ำมันอย่างไร ให้ได้กำไรสูงสุด
อยากรู้ : กลั่นน้ำมันอย่างไร ให้ได้กำไรสูงสุด
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อแสดงตัวอย่างที่สามารถประยุกต์กับเหตุการณ์ปัจจุบัน โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้ใช้ทรัพยากรให้น้อยที่สุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ในบทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการกลั่นน้ำมันแบบง่ายๆ โดยกำหนดให้น้ำมันดิบผ่านกระบวนการหลักๆ และได้ผลผลิตหลายชนิดออกมา
ตัวแบบทดสอบใช้ model การคำนวณแบบ Linear Programming
ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ ในการกลั่นน้ำมันมีขั้นตอนซับซ้อนกว่านี้เยอะ
แต่สำหรับผู้เริ่มต้น ผมคิดว่าให้ได้ไอเดียคร่าวๆ ก่อน เพื่อง่ายต่อการนำไปศึกษาต่อครับ
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Youtube : คุยเฟื่อง เรื่องผลิต, คุยเฟื่อง เรื่อง optimization
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อแสดงตัวอย่างที่สามารถประยุกต์กับเหตุการณ์ปัจจุบัน โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้ใช้ทรัพยากรให้น้อยที่สุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ในบทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการกลั่นน้ำมันแบบง่ายๆ โดยกำหนดให้น้ำมันดิบผ่านกระบวนการหลักๆ และได้ผลผลิตหลายชนิดออกมา
ตัวแบบทดสอบใช้ model การคำนวณแบบ Linear Programming
ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ ในการกลั่นน้ำมันมีขั้นตอนซับซ้อนกว่านี้เยอะ
แต่สำหรับผู้เริ่มต้น ผมคิดว่าให้ได้ไอเดียคร่าวๆ ก่อน เพื่อง่ายต่อการนำไปศึกษาต่อครับ
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Youtube : คุยเฟื่อง เรื่องผลิต, คุยเฟื่อง เรื่อง optimization
วันอาทิตย์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
อยากรู้ : การเรียกคืนยา บริษัทผู้ผลิตต้องทำอย่างไร
อยากรู้ : การเรียกคืนยา บริษัทผู้ผลิตต้องทำอย่างไร
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้นเพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
เมื่อวานนี้ (14/7/2018) ทาง อย ได้ประกาศห้ามใช้วัตถุดิบที่นำเข้าจากเมืองจีน ทีถูกนำไปใช้ในการผลิตยาลดความดัน เนื่องจากพบสารปนเปื้อนที่อาจทำให้เกิดมะเร็งในมนุษย์ได้
ในบทความนี้ จึงนำเสนอวิธีการให้บุคคลที่สนใจ ได้รับทราบถึงวิธีการที่ทางโรงงานผู้ผลิตยา อาจนำไปใช้ในกระบวนเรียกคืนสินค้าได้
----------------------------------------------------------------------------------------
ในการผลิตสินค้า ที่เกิดจากการนำวัตถุดิบต่างๆ มาผ่านกระบวนการผลิต เราสามารถที่จะตรวจสอบได้ใน 2 รูปแบบ
- รูปแบบที่ 1 คือการตรวจสอบแบบบนลงล่าง (Top-Down) กรณีนี้ คือ เรานำ batch สินค้าที่ทราบ และต้องการค้นหา batch ของวัตถุดิบที่ใช้
การตรวจสอบลักษณะนี้ เช่น การ complain สินค้าที่ defect และโรงงานต้องการไปหาว่าเกิดจากวัตถุดิบ batch ใด และซื้อมาจาก vendor รายใด เป็นต้น
- รูปแบบที่ 2 คือการตรวจสอบจากล่างขึ้นบน (Bottom-Up) กรณีนี้ คือ เรานำ batch วัตถุดิบที่ทราบ ไปค้นหาว่าถูกนำไปผลิตสินค้าอะไรบ้าง
การตรวจสอบลักษณะนี้ เช่น วัตถุดิบพบการปนเปื้อน ดังนั้นโรงงานจะทำการตรวจสอบว่าถูกนำไปผลิตสินค้า batch ใดบ้าง เพื่อเรียกคืนสินค้าจากลูกค้า เป็นต้น
ข้อสังเกต: การใช้วัตถุดิบในกระบวนการผลิตสินค้า จำเป็นต้องมีใบสั่งผลิต หรือแผนการผลิตรองรับเสมอ เพื่อใช้สำหรับกระบวนการ traceability
รายละเอียด โปรดดูตาม clip video ในบทความนี้ครับ
---------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความอื่นๆ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้นเพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
เมื่อวานนี้ (14/7/2018) ทาง อย ได้ประกาศห้ามใช้วัตถุดิบที่นำเข้าจากเมืองจีน ทีถูกนำไปใช้ในการผลิตยาลดความดัน เนื่องจากพบสารปนเปื้อนที่อาจทำให้เกิดมะเร็งในมนุษย์ได้
ในบทความนี้ จึงนำเสนอวิธีการให้บุคคลที่สนใจ ได้รับทราบถึงวิธีการที่ทางโรงงานผู้ผลิตยา อาจนำไปใช้ในกระบวนเรียกคืนสินค้าได้
----------------------------------------------------------------------------------------
ในการผลิตสินค้า ที่เกิดจากการนำวัตถุดิบต่างๆ มาผ่านกระบวนการผลิต เราสามารถที่จะตรวจสอบได้ใน 2 รูปแบบ
- รูปแบบที่ 1 คือการตรวจสอบแบบบนลงล่าง (Top-Down) กรณีนี้ คือ เรานำ batch สินค้าที่ทราบ และต้องการค้นหา batch ของวัตถุดิบที่ใช้
การตรวจสอบลักษณะนี้ เช่น การ complain สินค้าที่ defect และโรงงานต้องการไปหาว่าเกิดจากวัตถุดิบ batch ใด และซื้อมาจาก vendor รายใด เป็นต้น
- รูปแบบที่ 2 คือการตรวจสอบจากล่างขึ้นบน (Bottom-Up) กรณีนี้ คือ เรานำ batch วัตถุดิบที่ทราบ ไปค้นหาว่าถูกนำไปผลิตสินค้าอะไรบ้าง
การตรวจสอบลักษณะนี้ เช่น วัตถุดิบพบการปนเปื้อน ดังนั้นโรงงานจะทำการตรวจสอบว่าถูกนำไปผลิตสินค้า batch ใดบ้าง เพื่อเรียกคืนสินค้าจากลูกค้า เป็นต้น
ข้อสังเกต: การใช้วัตถุดิบในกระบวนการผลิตสินค้า จำเป็นต้องมีใบสั่งผลิต หรือแผนการผลิตรองรับเสมอ เพื่อใช้สำหรับกระบวนการ traceability
รายละเอียด โปรดดูตาม clip video ในบทความนี้ครับ
---------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความอื่นๆ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
วันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
อยากรู้ : การวางแผนกำลังพลกู้ภัยในภารกิจถ้ำหลวง
อยากรู้ : การวางแผนกำลังพลกู้ภัยในภารกิจถ้ำหลวง
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อแสดงตัวอย่างการ optimization ที่สามารถประยุกต์กับเหตุการณ์ปัจจุบัน
โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด เช่นต้องการให้ได้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาสูงสุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้ใช้ทรัพยากรให้น้อยที่สุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่าง เช่น การปฏิบัติการกู้ภัยในถ้ำหลวง ที่ต้องอาศัยเจ้าหน้าที่ที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษ เช่น หน่วยซีล แต่การที่จะร้องขอไปที่ต้นสังกัด
ถ้าสามารถระบุให้ชัดเจนว่าต้องการขอจำนวนผุ้ปฏิบัติการด้วยตัวเลขที่ชัดเจน ก็จะทำให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดกำลังพลที่ดีได้ โดยยังได้เนื้องานครบถ้วน
ตัวแบบทดสอบใช้ model การคำนวณแบบ Linear Programming
ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ ให้ผู้ทำงานทำการพักที่กลางเวลาของการทำงานเสมอ เช่น ทำงาน 8 ชั่วโมง
โดยพักหลังจากทำงานไปแล้ว 4 ชั่วโมงเสมอ แต่ในความเป็นจริง อาจมีความยืดหยุ่นได้ เช่น ทำงานไปแล้ว 3 ชั่วโมง
ก็เริ่มพักได้ เป็นต้น โดยในโอกาสถัดไป ผมจะหยิบเรื่องดังกล่าวมาเล่าให้ฟังครับ
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อแสดงตัวอย่างการ optimization ที่สามารถประยุกต์กับเหตุการณ์ปัจจุบัน
โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด เช่นต้องการให้ได้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาสูงสุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้ใช้ทรัพยากรให้น้อยที่สุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่าง เช่น การปฏิบัติการกู้ภัยในถ้ำหลวง ที่ต้องอาศัยเจ้าหน้าที่ที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษ เช่น หน่วยซีล แต่การที่จะร้องขอไปที่ต้นสังกัด
ถ้าสามารถระบุให้ชัดเจนว่าต้องการขอจำนวนผุ้ปฏิบัติการด้วยตัวเลขที่ชัดเจน ก็จะทำให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดกำลังพลที่ดีได้ โดยยังได้เนื้องานครบถ้วน
ตัวแบบทดสอบใช้ model การคำนวณแบบ Linear Programming
ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ ให้ผู้ทำงานทำการพักที่กลางเวลาของการทำงานเสมอ เช่น ทำงาน 8 ชั่วโมง
โดยพักหลังจากทำงานไปแล้ว 4 ชั่วโมงเสมอ แต่ในความเป็นจริง อาจมีความยืดหยุ่นได้ เช่น ทำงานไปแล้ว 3 ชั่วโมง
ก็เริ่มพักได้ เป็นต้น โดยในโอกาสถัดไป ผมจะหยิบเรื่องดังกล่าวมาเล่าให้ฟังครับ
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
วันอาทิตย์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
อยากรู้ : ราคาต้นทุนวัตถุดิบ จากการสั่งซื้อ
อยากรู้ : ราคาต้นทุนวัตถุดิบ จากการสั่งซื้อ
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้นเพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
ในระบบผลิต เมื่อเกิดการเบิกใช้วัตถุดิบ จะมีคำถามว่า ณ. เวลาที่เบิกใช้นั้น วัตถุดิบมีราคาเท่าใด
ในบทความนี้ จึงกล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและมีผลต่อราคาวัตถุดิบ ณ ช่วงเวลาต่างๆ
สำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของราคาวัตถุดิบนั้น ประกอบด้วย
- หน่วยงานจัดซื้อ ทำหน้าที่ออกใบสั่งซื้อ (Purchase Order) โดยกำหนดราคาตามที่ตกลงกับ vendor
- หน่วยงาน store ทำหน้าที่รับวัตถุดิบจาก vendor เข้าเป็น stock พร้อมเบิกไปใช้งาน
- หน่วยงานบัญชี ทำหน้าที่รับ invoice จาก vendor สำหรับตั้งหนี้
----------------------------------------------------------------------------------------
รายละเอียด โปรดดูตาม clip video ในบทความนี้ครับ
----------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความอื่นๆ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้นเพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
ในระบบผลิต เมื่อเกิดการเบิกใช้วัตถุดิบ จะมีคำถามว่า ณ. เวลาที่เบิกใช้นั้น วัตถุดิบมีราคาเท่าใด
ในบทความนี้ จึงกล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและมีผลต่อราคาวัตถุดิบ ณ ช่วงเวลาต่างๆ
สำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของราคาวัตถุดิบนั้น ประกอบด้วย
- หน่วยงานจัดซื้อ ทำหน้าที่ออกใบสั่งซื้อ (Purchase Order) โดยกำหนดราคาตามที่ตกลงกับ vendor
- หน่วยงาน store ทำหน้าที่รับวัตถุดิบจาก vendor เข้าเป็น stock พร้อมเบิกไปใช้งาน
- หน่วยงานบัญชี ทำหน้าที่รับ invoice จาก vendor สำหรับตั้งหนี้
----------------------------------------------------------------------------------------
รายละเอียด โปรดดูตาม clip video ในบทความนี้ครับ
----------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความอื่นๆ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
วันเสาร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
อยากรู้ : จุดสั่งซื้อ ภาคบรรยาย
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้นเพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
จากการที่ได้ประชุมกับฝ่ายจัดซื้อและฝ่ายดูแลคลังสินค้า มักจะพบปัญหา ที่พนักงานไม่สามารถดูแลวัสดุทุกชิ้นได้อย่างทั่วถึง ทำให้เกิดปัญหาในเรื่องการบริหารวัสดุไม่พอดีกับการใช้งาน ฝ่ายจัดซื้อ ซื้อทีละมากๆ ก็กลัวเหลือค้างในคลัง หรือถ้าซื้อน้อย ก็เกรงว่าจะไม่พอใช้งาน
ในบทความนี้ ขอเสนอวิธีการบริหารวัสดุให้มีความพอดี และลดเวลาการดูแลวัสดุแต่ละตัว โดยใช้กลไกการตรวจสอบข้อมูล ผ่านพารามิเตอร์ที่เรียกว่า Reorder Point
----------------------------------------------------------------------------------------
Reorder point คือ จุดสั่งซื้อ โดยเมื่อผู้ใช้งาน สั่งระบบทำงาน โปรแกรมจะตรวจสอบว่า stock ปัจจุบันของวัสดุ เทียบกับ Reorder Point ของวัสดุ ที่มีการกำหนดไว้ เป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้
- ถ้า Stock >= Reorder Point ก็ยังไม่ต้องสั่งซื้อใดๆ
- ถ้า Stock < Reorder Point ระบบจะทำการสร้างแผนสั่งซื้อ โดยคำนวณวันที่เริ่มต้นออกแผนสั่งซื้อ และคำนวณวันที่ได้รับจากการสั่งซื้อ
รายละเอียด โปรดดูตาม clip video ในบทความนี้ครับ
----------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความอื่นๆ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
วันอาทิตย์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
อยากรู้ : ใบสั่งผลิต ภาคบรรยาย
อยากรู้ : ใบสั่งผลิต ภาคบรรยาย
Series : Easy Production - Thailand 4.0เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
การผลิตโดยอ้างใบสั่งผลิต มีวัตถุประสงค์หลัก คือต้องการเก็บข้อมูลต่อใบสั่งผลิต เช่น เวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการผลิต, จำนวน yield และ scrap ของการผลิต, ต้นทุนค่าใช้จ่ายต่อใบสั่งผลิต ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะต้นทุนหลักๆ ได้แก่ ค่าวัตถุดิบและค่ากิจกรรมที่เกิดจากเครื่องจักรหรือกำลังคน
----------------------------------------------------------------------------------------------
วงจรชีวิตของใบสั่งผลิตแต่ละใบ ถูกกำหนดตามสถานะในช่วงเวลาที่ผ่านไป มีลำดับดังนี้
- สถานะ Created คือสถานเริ่มต้น เมื่อเริ่มสร้างใบสั่งผลิตขึ้นมา
- สถานะ Released คือสถานะที่ผ่านการตรวจสอบความพร้อมของวัตถุดิบและกำลังการผลิตแล้ว และพร้อมส่งเข้าสู่กระบวนการผลิตจริง
- สถานะ Withdrawal (Goods issue) คือสถานะที่มีการเบิกวัตถุดิบเข้าไปในกระบวนการผลิตแล้ว ทำให้เกิดต้นทุนที่ใช้ในการผลิต
- สถานะ Confirmed คือสถานะที่มีการบันทึกเวลาที่ใช้ในการผลิตที่ผ่านขั้นตอนต่างๆ เกิดเป็นต้นทุนการผลิตเช่นกัน รวมถึงมีการบันทึกค่า yield และ scrap ที่เกิดขึ้น
- สถานะ Delivered (Godos receipt) คือสถานะที่มีการรับสินค้าที่เกิดจากการผลิต
- สถานะ Technical completed คือสถานะที่ผู้ที่ทำการผลิตแจ้งให้หน่วยงานอื่นรับรู้ว่า ใบสั่งผลิตนี้ได้เสร็จสิ้นการผลิตแล้ว ซึ่งมีผลกับระบบคือ ระบบจะปลดปล่อยการจองวัตถุดิบที่ยังไม่ได้ใช้ รวมถึงปลดปล่อยกำลังการผลิตที่จองไว้แต่ยังไม่ได้ใช้เช่นกัน
- สถานะ Closed คือสถานะที่ทำการปิดใบสั่งผลิตอย่างถาวร ไม่ให้มีการนำใบสั่งผลิตนี้ไปบันทึกเพิ่มเติมได้อีก
-----------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความนี้ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
วันอังคารที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2561
อยากรู้ : วิธีคำนวณจำนวนแผ่นกระจกที่ใช้สำหรับตึกสูง ให้มีต้นทุนต่ำสุด
อยากรู้ : วิธีคำนวณจำนวนแผ่นกระจกที่ใช้สำหรับตึกสูง ให้มีต้นทุนต่ำสุด
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
การ optimization สำหรับการตัดแบบ 2D ซึ่งยกตัวอย่างบานกระจกขนาดต่างๆ ที่ต้องใช้ในตึกสูง โดยที่ทำการตัดจากแผ่นกระจกขนาดมาตรฐาน
ในการประยุกต์ลักษณะนี้ สามารถนำไปใช้สำหรับงานตัดประเภทอื่นๆ ได้อีกด้วย เช่น การตัดแผ่นเหล็ก ที่เป็นลักษณะมุมฉาก จากแผ่นใหญ่
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
การ optimization สำหรับการตัดแบบ 2D ซึ่งยกตัวอย่างบานกระจกขนาดต่างๆ ที่ต้องใช้ในตึกสูง โดยที่ทำการตัดจากแผ่นกระจกขนาดมาตรฐาน
ในการประยุกต์ลักษณะนี้ สามารถนำไปใช้สำหรับงานตัดประเภทอื่นๆ ได้อีกด้วย เช่น การตัดแผ่นเหล็ก ที่เป็นลักษณะมุมฉาก จากแผ่นใหญ่
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
วันศุกร์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2561
อยากรู้ : Kanban ภาคบรรยาย 1
อยากรู้ : Kanban ภาคบรรยาย 1
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
รถยนต์แต่ละคัน มีชิ้นส่วนทั้งเล็กและใหญ่ รวมๆ กัน เป็นหมื่นชิ้น และถ้าเข้าไปเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนของรถยนต์ มักจะพูดถึงระบบ Kanban เสมอ คำนี้เป็นภาษาญี่ปุ่น ถ้าอ่านเป็นภาษาไทย จะอ่านว่า “คัมบัง” แล้วมันคืออะไร ถ้าพูดรวมๆ อาจจะหมายถึง วิธีการควบคุมการจัดหาวัสดุในระบบผลิต
หัวใจของการทำงานในระบบคัมบัง คือ การเป็นระบบ Pull System หมายถึงว่า ระบบจะเริ่มผลิต ก็ต่อเมื่อมีการนำไปใช้ ไม่ว่าใช้เพื่อขาย หรือใช้สำหรับผลิตต่อในกระบวนการถัดไป ซึ่งจะให้อำนาจแก่พนักงานที่อยู่หน้างาน เป็นคนบริหารการผลิตเอง โดยพนักงานต้องเป็นคนตรวจสอบ stock ที่ค้างในแต่ละจุด ด้วยสายตาของตนเอง (Visual) เมื่อ stock ถูกใช้ไป ก็ต้องทำการเติมเข้ามาทันที โดยวัสดุแต่ละชนิด จะถูกจัดวางในถาด (container) ที่กำหนดจำนวนคงที่ต่อถาดเสมอ
การควบคุมโดยพนักงาน ทำผ่านเครื่องมือที่เรียกว่า บัตรคัมบัง แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก
- บัตรคัมบังชนิดแรกเรียกว่า บัตรเบิก (Part Withdraw - PW) ใช้เพื่อ เคลื่อนย้ายวัสดุระหว่างพื้นที่
- บัตรคัมบังชนิดที่สองเรียกว่า บัตรผลิต (Part Instruction - PI) ใช้เพื่อ สั่งให้เริ่มการผลิต
ตัวอย่างของการทำงานในระบบผลิต มีผู้เกี่ยวข้อง 2 หน่วยงาน คือ หน่วยงานผลิต (Production) และหน่วยงานควบคุมการผลิต (Production control - PC)
----------------------------------------------------------------------------------
การทำงานของแต่ละบัตร เริ่มจากบัตร PW (Part Withdraw)
- ขั้นตอนที่ 1 เมื่อวัสดุถูกใช้ในการผลิต ถาดที่ใส่วัสดุ ก็จะเริ่มว่าง
- ขั้นตอนที่ 2 หน่วยงานผลิตทำการหยิบใบ PW ที่เสียบอยู่ในถาด นำไปใส่ไว้ที่ตู้ Kanban Post (หลักการเหมือนตู้ไปรษณีย์) ที่อยู่หน้าไลน์การผลิต
- ขั้นตอนที่ 3 หน่วยงาน PC มีหน้าที่ในการเดินตรวจสอบบัตรคัมบัง PW ที่อยู่ในตู้ Kanban Post ของแต่ละไลน์การผลิต
ในขั้นตอนนี้ ถ้าเป็นการทำงานแบบ manual หน่วยงาน PC ก็จะต้องหยิบบัตร PW นี้ ไปเสียบลงที่หน่วยงานต้นน้ำ พร้อมกับนำถาดว่างไปด้วย เพื่อรอการ supply วัสดุนี้ โดยมีอีกตู้หนึ่งที่หน่วยงานต้นน้ำ เรียกว่า Forming Lot
ถ้ามีซอพแวร์ มาร่วมในการบริหาร หน่วยงาน PC สามารถทำการ scan barcode ที่บัตร PW เพื่อสร้าง reservation สำหรับการโอน และให้หน่วยงานต้นน้ำเห็นความต้องการนี้
----------------------------------------------------------------------------
การทำงานของบัตร PI (Part Instruction)
- ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงาน PC ทำหน้าที่ในการตรวจสอบจำนวนบัตร PW ในตู้ Forming lot
- ขั้นตอนที่ 2 ถ้าหน่วยงาน PC พบว่ามีการสะสมของบัตร PW ถึงจุดที่สั่งผลิตแล้ว หน่วยงาน PC ทำการเรียกบัตร PI เพื่อสั่งให้เริ่มทำการผลิต ซึ่งใช้บัตรเป็นคนละสี เพื่อแยกความแตกต่าง ถึงแม้จะยังคงอ้างถึงวัสดุเดียวกัน ตรงจุดนี้ถ้าโรงงานมีการใช้ซอพแวร์ช่วยในการทำงาน ก็อาจจะพบหน้าจอ Kanban Board ซึ่งช่วยอำนวยความสะดวกในการเปิดใบสั่งผลิต
- ขั้นตอนที่ 3 หน่วยงานผลิตทำการผลิตตามบัตร PI และเมื่อผลิตเสร็จ ก็จะนำไปวางไว้บนถาดในไลน์ผลิต (เป็นคนละถาดกับถาดว่างที่ส่งมาจากปลายน้ำ)
- ขั้นตอนที่ 4 หน่วยงาน PC ทำการจัดการกับวัสดุที่ผลิตได้ แบ่งเป็น 2 ประเภท
o ประเภทแรก คือ จำนวนที่ผลิต แต่ละครั้ง เท่ากับจำนวนที่ร้องขอมา หมายถึงจำนวนที่ผลิตตามบัตร PI เท่ากับจำนวนที่ขอตามบัตร PW ในกรณีนี้ ให้ทำการสลับบัตรบนถาดที่ส่งออกมาจากระบบผลิตได้ และนำส่งไปยังหน่วยงานปลายน้ำได้ทันที
o ประเภทที่สอง คือ จำนวนที่ผลิตต่อบัตร PI มากกว่าจำนวนต่อบัตร PW ในกรณีนี้ หน่วยงาน PC ต้องย้ายวัสดุจากถาดผลิตที่มีบัตร PI ไปยังถาดว่างที่และเสียบบัตร PW จากนั้นนำส่งไปยังหน่วยงานปลายน้ำ
------------------------------------------------------------------
จากกระบวนการทั้งหมด ทำให้เห็นว่า หน่วยงานที่อยู่ในไลน์การผลิต ต้องมีวินัยในการตรวจสอบ stock ที่อยู่หน้างานเสมอ
----------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความนี้ สามารถติดตามผ่าน
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
รถยนต์แต่ละคัน มีชิ้นส่วนทั้งเล็กและใหญ่ รวมๆ กัน เป็นหมื่นชิ้น และถ้าเข้าไปเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนของรถยนต์ มักจะพูดถึงระบบ Kanban เสมอ คำนี้เป็นภาษาญี่ปุ่น ถ้าอ่านเป็นภาษาไทย จะอ่านว่า “คัมบัง” แล้วมันคืออะไร ถ้าพูดรวมๆ อาจจะหมายถึง วิธีการควบคุมการจัดหาวัสดุในระบบผลิต
หัวใจของการทำงานในระบบคัมบัง คือ การเป็นระบบ Pull System หมายถึงว่า ระบบจะเริ่มผลิต ก็ต่อเมื่อมีการนำไปใช้ ไม่ว่าใช้เพื่อขาย หรือใช้สำหรับผลิตต่อในกระบวนการถัดไป ซึ่งจะให้อำนาจแก่พนักงานที่อยู่หน้างาน เป็นคนบริหารการผลิตเอง โดยพนักงานต้องเป็นคนตรวจสอบ stock ที่ค้างในแต่ละจุด ด้วยสายตาของตนเอง (Visual) เมื่อ stock ถูกใช้ไป ก็ต้องทำการเติมเข้ามาทันที โดยวัสดุแต่ละชนิด จะถูกจัดวางในถาด (container) ที่กำหนดจำนวนคงที่ต่อถาดเสมอ
การควบคุมโดยพนักงาน ทำผ่านเครื่องมือที่เรียกว่า บัตรคัมบัง แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก
- บัตรคัมบังชนิดแรกเรียกว่า บัตรเบิก (Part Withdraw - PW) ใช้เพื่อ เคลื่อนย้ายวัสดุระหว่างพื้นที่
- บัตรคัมบังชนิดที่สองเรียกว่า บัตรผลิต (Part Instruction - PI) ใช้เพื่อ สั่งให้เริ่มการผลิต
ตัวอย่างของการทำงานในระบบผลิต มีผู้เกี่ยวข้อง 2 หน่วยงาน คือ หน่วยงานผลิต (Production) และหน่วยงานควบคุมการผลิต (Production control - PC)
----------------------------------------------------------------------------------
การทำงานของแต่ละบัตร เริ่มจากบัตร PW (Part Withdraw)
- ขั้นตอนที่ 1 เมื่อวัสดุถูกใช้ในการผลิต ถาดที่ใส่วัสดุ ก็จะเริ่มว่าง
- ขั้นตอนที่ 2 หน่วยงานผลิตทำการหยิบใบ PW ที่เสียบอยู่ในถาด นำไปใส่ไว้ที่ตู้ Kanban Post (หลักการเหมือนตู้ไปรษณีย์) ที่อยู่หน้าไลน์การผลิต
- ขั้นตอนที่ 3 หน่วยงาน PC มีหน้าที่ในการเดินตรวจสอบบัตรคัมบัง PW ที่อยู่ในตู้ Kanban Post ของแต่ละไลน์การผลิต
ในขั้นตอนนี้ ถ้าเป็นการทำงานแบบ manual หน่วยงาน PC ก็จะต้องหยิบบัตร PW นี้ ไปเสียบลงที่หน่วยงานต้นน้ำ พร้อมกับนำถาดว่างไปด้วย เพื่อรอการ supply วัสดุนี้ โดยมีอีกตู้หนึ่งที่หน่วยงานต้นน้ำ เรียกว่า Forming Lot
ถ้ามีซอพแวร์ มาร่วมในการบริหาร หน่วยงาน PC สามารถทำการ scan barcode ที่บัตร PW เพื่อสร้าง reservation สำหรับการโอน และให้หน่วยงานต้นน้ำเห็นความต้องการนี้
----------------------------------------------------------------------------
การทำงานของบัตร PI (Part Instruction)
- ขั้นตอนที่ 1 หน่วยงาน PC ทำหน้าที่ในการตรวจสอบจำนวนบัตร PW ในตู้ Forming lot
- ขั้นตอนที่ 2 ถ้าหน่วยงาน PC พบว่ามีการสะสมของบัตร PW ถึงจุดที่สั่งผลิตแล้ว หน่วยงาน PC ทำการเรียกบัตร PI เพื่อสั่งให้เริ่มทำการผลิต ซึ่งใช้บัตรเป็นคนละสี เพื่อแยกความแตกต่าง ถึงแม้จะยังคงอ้างถึงวัสดุเดียวกัน ตรงจุดนี้ถ้าโรงงานมีการใช้ซอพแวร์ช่วยในการทำงาน ก็อาจจะพบหน้าจอ Kanban Board ซึ่งช่วยอำนวยความสะดวกในการเปิดใบสั่งผลิต
- ขั้นตอนที่ 3 หน่วยงานผลิตทำการผลิตตามบัตร PI และเมื่อผลิตเสร็จ ก็จะนำไปวางไว้บนถาดในไลน์ผลิต (เป็นคนละถาดกับถาดว่างที่ส่งมาจากปลายน้ำ)
- ขั้นตอนที่ 4 หน่วยงาน PC ทำการจัดการกับวัสดุที่ผลิตได้ แบ่งเป็น 2 ประเภท
o ประเภทแรก คือ จำนวนที่ผลิต แต่ละครั้ง เท่ากับจำนวนที่ร้องขอมา หมายถึงจำนวนที่ผลิตตามบัตร PI เท่ากับจำนวนที่ขอตามบัตร PW ในกรณีนี้ ให้ทำการสลับบัตรบนถาดที่ส่งออกมาจากระบบผลิตได้ และนำส่งไปยังหน่วยงานปลายน้ำได้ทันที
o ประเภทที่สอง คือ จำนวนที่ผลิตต่อบัตร PI มากกว่าจำนวนต่อบัตร PW ในกรณีนี้ หน่วยงาน PC ต้องย้ายวัสดุจากถาดผลิตที่มีบัตร PI ไปยังถาดว่างที่และเสียบบัตร PW จากนั้นนำส่งไปยังหน่วยงานปลายน้ำ
------------------------------------------------------------------
จากกระบวนการทั้งหมด ทำให้เห็นว่า หน่วยงานที่อยู่ในไลน์การผลิต ต้องมีวินัยในการตรวจสอบ stock ที่อยู่หน้างานเสมอ
----------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความนี้ สามารถติดตามผ่าน
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
อยากรู้ : Kanban ภาคบรรยาย 2
อยากรู้ : Kanban ภาคบรรยาย 2
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
จากบทความที่แล้ว ได้อธิบายถึงกระบวนการทำงานในระบบ Kanban สำหรับบทความนี้จะได้กล่าวถึงวิธีการในการคำนวณในแต่ละจุดการผลิต ควรมีจำนวน Kanban เท่าใด หรือ แต่ละ Kanban ควรมีกี่ชิ้น
ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นวิธีการคำนวณ โดยใช้ตัวอย่างเพียง 1 รายการสินค้าในการวางแผน แบ่งออกเป็นขั้นตอนง่ายๆ ดังนี้
---------------------------------------------------------------------------
ขั้นตอนที่ 1. เริ่มจาก กำหนดให้นำ Sales forecast มาใช้งาน ในตัวอย่างนี้ใช้ข้อมูล 3 สัปดาห์ข้างหน้า โดยแต่ละสัปดาห์มีความต้องการ 10000 ชิ้น
---------------------------------------------------------------------------
ขั้นตอนที่ 2. ทำการคำนวณการนำไปใช้เฉลี่ยต่อช่วงเวลา (Average consumption : AC) โดยมีเงื่อนการทำงาน คือ 1 สัปดาห์ทำงาน 5 วัน และแต่ละวันทำงาน 8 ชั่วโมง แบ่งการคำนวณเป็น 2 ชนิด
ชนิดที่ 1 คำนวณการใช้งานเฉลี่ยต่อชั่วโมง
Hour base = 30000 / (3w * 5d * 8h)
= 250 PC/Hr
ชนิดที่ 2 คำนวณการใช้เฉลี่ยต่อวัน
Day base = 30000 / (3w * 5d)
= 2000 PC/Day
---------------------------------------------------------------------------
ขั้นตอนที่ 3. คำนวณจำนวน Kanban หรือ จำนวนในแต่ละ Kanban ในขั้นตอนนี้ ขึ้นกับผู้ออกแบบและผู้ใช้งานว่า ต้องการให้ยึดสิ่งใดเป็นหลักในการคำนวณ
---------------------------------------------------------------------------
เนื่องจากว่าการคำนวณ จะต้องกำหนดค่าตายตัวเบื้องต้น 1 ค่าเสมอ โดยผู้ใช้งานหรือผู้ออกแบบต้องกำหนดค่าการเติมเต็มในกรณีที่จำนวนในถาด Kanban ว่างลง ค่าดังกล่าวเรียกว่า Replenishment Leadtime (RT) ซึ่งอาจหมายถึง เวลาที่ใช้ในการผลิต หรือเวลาที่ใช้ในการสั่งซื้อ เป็นต้น โดยสมมุติว่า เป็น Kanban สำหรับการผลิต และมี leadtime ในการผลิต 2 ชั่วโมง การคำนวณแบ่งเป็น 2 แบบ
แบบที่ 1 ยึดจำนวน Kanban เป็นหลัก เพื่อหาค่าจำนวนต่อ Kanban ตามสูตรด้านล่าง โดย กำหนดให้มี 5 Kanban
Qty = RT * AC / NK
แทนค่าลงไปตามสูตร
Qty = 2 * 250 / 5
ผลลัพธ์ Qty ต่อ Kanban =100 Pc
หรือแบบที่ 2 ที่ยึดจำนวนต่อ Kanban เป็นหลัก ก็สามารถหาค่าจำนวน Kanban ได้ ตามสูตรด้านล่าง โดยกำหนดให้แต่ละ Kanban มีจำนวน 100 Pc
NK = (AC * RT / Qty) + 1(option)
NK = 250 * 2 / 100
ผลลัพธ์ จำนวน Kanban ที่ต้องเตรียมไว้ = 5 Kanban
จะเห็นว่า ผู้ออกแบบระบบ Kanban สามารถที่จะเลือกวิธีการคำนวณได้ตามความสะดวก ทำให้สามารถออกแบบแต่ละกระบวนการได้อย่างอิสระ เช่น กระบวนการผลิตที่ 1 อาจยึดจำนวน Kanban เป็นหลัก ในขณะที่กระบวนการผลิตที่ 2 อาจยึดจำนวนในแต่ละ Kanban เป็นหลัก
---------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความนี้ สามารถติดตามผ่านทาง
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
จากบทความที่แล้ว ได้อธิบายถึงกระบวนการทำงานในระบบ Kanban สำหรับบทความนี้จะได้กล่าวถึงวิธีการในการคำนวณในแต่ละจุดการผลิต ควรมีจำนวน Kanban เท่าใด หรือ แต่ละ Kanban ควรมีกี่ชิ้น
ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นวิธีการคำนวณ โดยใช้ตัวอย่างเพียง 1 รายการสินค้าในการวางแผน แบ่งออกเป็นขั้นตอนง่ายๆ ดังนี้
---------------------------------------------------------------------------
ขั้นตอนที่ 1. เริ่มจาก กำหนดให้นำ Sales forecast มาใช้งาน ในตัวอย่างนี้ใช้ข้อมูล 3 สัปดาห์ข้างหน้า โดยแต่ละสัปดาห์มีความต้องการ 10000 ชิ้น
---------------------------------------------------------------------------
ขั้นตอนที่ 2. ทำการคำนวณการนำไปใช้เฉลี่ยต่อช่วงเวลา (Average consumption : AC) โดยมีเงื่อนการทำงาน คือ 1 สัปดาห์ทำงาน 5 วัน และแต่ละวันทำงาน 8 ชั่วโมง แบ่งการคำนวณเป็น 2 ชนิด
ชนิดที่ 1 คำนวณการใช้งานเฉลี่ยต่อชั่วโมง
Hour base = 30000 / (3w * 5d * 8h)
= 250 PC/Hr
ชนิดที่ 2 คำนวณการใช้เฉลี่ยต่อวัน
Day base = 30000 / (3w * 5d)
= 2000 PC/Day
---------------------------------------------------------------------------
ขั้นตอนที่ 3. คำนวณจำนวน Kanban หรือ จำนวนในแต่ละ Kanban ในขั้นตอนนี้ ขึ้นกับผู้ออกแบบและผู้ใช้งานว่า ต้องการให้ยึดสิ่งใดเป็นหลักในการคำนวณ
---------------------------------------------------------------------------
เนื่องจากว่าการคำนวณ จะต้องกำหนดค่าตายตัวเบื้องต้น 1 ค่าเสมอ โดยผู้ใช้งานหรือผู้ออกแบบต้องกำหนดค่าการเติมเต็มในกรณีที่จำนวนในถาด Kanban ว่างลง ค่าดังกล่าวเรียกว่า Replenishment Leadtime (RT) ซึ่งอาจหมายถึง เวลาที่ใช้ในการผลิต หรือเวลาที่ใช้ในการสั่งซื้อ เป็นต้น โดยสมมุติว่า เป็น Kanban สำหรับการผลิต และมี leadtime ในการผลิต 2 ชั่วโมง การคำนวณแบ่งเป็น 2 แบบ
แบบที่ 1 ยึดจำนวน Kanban เป็นหลัก เพื่อหาค่าจำนวนต่อ Kanban ตามสูตรด้านล่าง โดย กำหนดให้มี 5 Kanban
Qty = RT * AC / NK
แทนค่าลงไปตามสูตร
Qty = 2 * 250 / 5
ผลลัพธ์ Qty ต่อ Kanban =100 Pc
หรือแบบที่ 2 ที่ยึดจำนวนต่อ Kanban เป็นหลัก ก็สามารถหาค่าจำนวน Kanban ได้ ตามสูตรด้านล่าง โดยกำหนดให้แต่ละ Kanban มีจำนวน 100 Pc
NK = (AC * RT / Qty) + 1(option)
NK = 250 * 2 / 100
ผลลัพธ์ จำนวน Kanban ที่ต้องเตรียมไว้ = 5 Kanban
จะเห็นว่า ผู้ออกแบบระบบ Kanban สามารถที่จะเลือกวิธีการคำนวณได้ตามความสะดวก ทำให้สามารถออกแบบแต่ละกระบวนการได้อย่างอิสระ เช่น กระบวนการผลิตที่ 1 อาจยึดจำนวน Kanban เป็นหลัก ในขณะที่กระบวนการผลิตที่ 2 อาจยึดจำนวนในแต่ละ Kanban เป็นหลัก
---------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความนี้ สามารถติดตามผ่านทาง
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
วันพฤหัสบดีที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2561
อยากรู้ : การวางแผนจำนวนพนักงาน Call Center
อยากรู้ : การวางแผนจำนวนพนักงาน Call Center
Series : Easy Production - Thailand 4.0เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่างการ แสดงการจัดพนักงาน call center เพื่อรองรับ call ในแต่ละช่วงเวลา ที่มีเข้ามาไม่เท่ากัน เนื้อหานี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานต่างๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นส่วนราชการ หรือส่วนเอกชน
ตัวแบบทดสอบใช้ model การคำนวณแบบ Linear Programming
ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ ไม่ได้นำปัจจัยด้านค่าใช้จ่ายที่แตกต่างกันในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน เช่น กะดึก โดยปกติจะมี rate ค่าใช้จ่ายที่สูงกว่ากะกลางวัน เป็นต้น
โดยในโอกาสถัดไป ผมจะหยิบเรื่องดังกล่าวมาเล่าให้ฟังครับ
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
วันพุธที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
อยากรู้ : MRP ภาคบรรยาย
อยากรู้ : MRP ภาคบรรยาย
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้นเพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
MRP ย่อมาจาก Material Requirement Planning เป็นฟังก์ชั่นที่สำคัญ ในระบบ ERP เพื่อคำนวณแผนการผลิตและแผนการจัดซื้อ ตามความต้องการที่เกิดขึ้น แต่ผู้ใช้งานมักไม่ทราบว่า กลไกในการคำนวณ เกิดขึ้นโดยอาศัยปัจจัยอะไรบ้าง บทความนี้ จะแสดงแนวคิดพื้นฐานในการทำงานครับ มาดูกันว่า ระบบทำงานอย่างไร
ข้อมูลพื้นฐานที่ต้องมี สำหรับนำไปใช้ในระบบ MRP มีดังนี้
- ข้อมูล BOM การผลิต บางแห่งเรียกว่าสูตรการผลิต
- ข้อมูล Routing การผลิต บางแห่งเรียกว่าขั้นตอนการผลิต
เมื่อมีข้อมูลพื้นฐานครบแล้ว แสดงว่าเราพร้อมจะคำนวณ MRP มาเริ่มกันเลย ฟังก์ชั่น MRP ทำงาน 5 ขั้นตอนด้วยกัน แต่ละขั้นตอน ได้ข้อมูลแต่ละลักษณะ
------------------------------------------------------------------------------------------------
ขั้นตอนที่ 1 : เมื่อมีความต้องการที่มาจาก Sales forecast หรือ Sales order ของสินค้า ในที่นี้คืออยู่ที่ตำแหน่งบนสุดของโครงสร้าง BOM โปรแกรมจะทำการตรวจสอบว่า สินค้าที่ต้องการนั้นมี stock หรือแผนการผลิตรองรับพอหรือไม่ โดยมีเงื่อนไขดังนี้
ถ้า Sales forecast/Sales order <= Stock/แผนการผลิต โปรแกรมจะหยุดการทำงาน
ถ้า Sales forecast/Sales order > Stock/แผนการผลิต แสดงว่าเกิดความไม่พอ (Shortage) โปรแกรมจะทำงานต่อไป
------------------------------------------------------------------------------------------------
ขั้นตอนที่ 2 : ตรวจสอบและกำหนดขนาดของ lot size อันเนื่องมาจาก Shortage ที่เกิดขึ้นจากขั้นตอนก่อนหน้า สามารถปรับแต่งขนาดได้ เช่น ขาดเท่าไร ก็จัดหาเท่านั้น ( lot-for-lot) หรือ การจัดหา ต้องระบุขนาดคงที่เสมอ (Fix lot) เป็นต้น และโปรแกรมทำงานต่อไป
------------------------------------------------------------------------------------------------
ขั้นตอนที่ 3 : ตรวจสอบประเภทของการจัดหา (Procurement type) โดยมีให้เลือกทั้งที่ผลิตเอง และซื้อเข้ามา โดยเมื่อโปรแกรมทำงานผ่านขั้นตอนนี้ จะได้ข้อมูลการจัดหาที่เริ่มเป็นรูป เป็นร่าง ขึ้นมา และโปรแกรมทำงานต่อไป
------------------------------------------------------------------------------------------------
ขั้นตอนที่ 4 : คำนวณวันที่เริ่มการจัดหา (Scheduling time) เช่น วันที่เริ่มผลิต โดยคำนวณย้อนกลับจากวันที่ต้องการนำไปใช้ (Requirement date) หักลบด้วย เวลาที่ใช้ในการผลิต (Processing time) เป็นต้น แผนการผลิตที่ผ่านขั้นตอนที่ 4 มีข้อมูลที่แสดงว่าต้องผลิตด้วยจำนวนเท่าไร และเริ่มต้น-สิ้นสุดการผลิตวันไหน เป็นต้น
------------------------------------------------------------------------------------------------
ขั้นตอนที 5 : โปรแกรมทำการแตก BOM (Explosion) ไปยัง level ถัดลงมาในโครงสร้าง BOM โดยยังคงกลับไปใช้วิธีการตั้งแต่ขั้นที่ 1 จนถึงขั้นที่ 4 ใหม่
โปรแกรมจัดการด้วยวิธีเดียวกันกับทุกรายการในโครงสร้าง BOM โดยในอดีตเมื่อ 10 กว่าปีที่แล้ว โปรแกรมบางยี่ห้อ อาจใช้เวลานาน นับสิบชั่วโมง เพื่อให้ทำงานและแตก BOM ได้ครบทุกรายการ แต่มาปัจจุบันทั้ง hardware และ software มีความสามารถที่สูงขึ้น ทำให้ใช้เวลาในการทำงานน้อยลงไปมาก
ผลพลอยได้จากการคำนวณ MRP คือ ระบบคำนวณกำลังการผลิตที่ต้องการใช้ให้ด้วย โดยถ้าพบว่า ในช่วงเวลาใด ที่มีการใช้กำลังการผลิตมากเกินที่มีให้ ก็จะแสดงข้อมูล overload ให้เห็น ซึ่งผู้วางแผนต้องไปพิจารณาต่อไป ว่าควรจะรับมืออย่างไร เช่น เพิ่มเวลา OT เพื่อเพิ่มกำลังการผลิตในช่วงเวลาที่เพิ่มขึ้นมา หรือผู้วางแผนอาจทำการขยับวันที่ต้องการใช้ ไปอยู่ในวันอื่น ที่ยังมีกำลังการผลิตเหลือ เป็นต้น
------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความนี้ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้นเพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
MRP ย่อมาจาก Material Requirement Planning เป็นฟังก์ชั่นที่สำคัญ ในระบบ ERP เพื่อคำนวณแผนการผลิตและแผนการจัดซื้อ ตามความต้องการที่เกิดขึ้น แต่ผู้ใช้งานมักไม่ทราบว่า กลไกในการคำนวณ เกิดขึ้นโดยอาศัยปัจจัยอะไรบ้าง บทความนี้ จะแสดงแนวคิดพื้นฐานในการทำงานครับ มาดูกันว่า ระบบทำงานอย่างไร
ข้อมูลพื้นฐานที่ต้องมี สำหรับนำไปใช้ในระบบ MRP มีดังนี้
- ข้อมูล BOM การผลิต บางแห่งเรียกว่าสูตรการผลิต
- ข้อมูล Routing การผลิต บางแห่งเรียกว่าขั้นตอนการผลิต
เมื่อมีข้อมูลพื้นฐานครบแล้ว แสดงว่าเราพร้อมจะคำนวณ MRP มาเริ่มกันเลย ฟังก์ชั่น MRP ทำงาน 5 ขั้นตอนด้วยกัน แต่ละขั้นตอน ได้ข้อมูลแต่ละลักษณะ
------------------------------------------------------------------------------------------------
ขั้นตอนที่ 1 : เมื่อมีความต้องการที่มาจาก Sales forecast หรือ Sales order ของสินค้า ในที่นี้คืออยู่ที่ตำแหน่งบนสุดของโครงสร้าง BOM โปรแกรมจะทำการตรวจสอบว่า สินค้าที่ต้องการนั้นมี stock หรือแผนการผลิตรองรับพอหรือไม่ โดยมีเงื่อนไขดังนี้
ถ้า Sales forecast/Sales order <= Stock/แผนการผลิต โปรแกรมจะหยุดการทำงาน
ถ้า Sales forecast/Sales order > Stock/แผนการผลิต แสดงว่าเกิดความไม่พอ (Shortage) โปรแกรมจะทำงานต่อไป
------------------------------------------------------------------------------------------------
ขั้นตอนที่ 2 : ตรวจสอบและกำหนดขนาดของ lot size อันเนื่องมาจาก Shortage ที่เกิดขึ้นจากขั้นตอนก่อนหน้า สามารถปรับแต่งขนาดได้ เช่น ขาดเท่าไร ก็จัดหาเท่านั้น ( lot-for-lot) หรือ การจัดหา ต้องระบุขนาดคงที่เสมอ (Fix lot) เป็นต้น และโปรแกรมทำงานต่อไป
------------------------------------------------------------------------------------------------
ขั้นตอนที่ 3 : ตรวจสอบประเภทของการจัดหา (Procurement type) โดยมีให้เลือกทั้งที่ผลิตเอง และซื้อเข้ามา โดยเมื่อโปรแกรมทำงานผ่านขั้นตอนนี้ จะได้ข้อมูลการจัดหาที่เริ่มเป็นรูป เป็นร่าง ขึ้นมา และโปรแกรมทำงานต่อไป
------------------------------------------------------------------------------------------------
ขั้นตอนที่ 4 : คำนวณวันที่เริ่มการจัดหา (Scheduling time) เช่น วันที่เริ่มผลิต โดยคำนวณย้อนกลับจากวันที่ต้องการนำไปใช้ (Requirement date) หักลบด้วย เวลาที่ใช้ในการผลิต (Processing time) เป็นต้น แผนการผลิตที่ผ่านขั้นตอนที่ 4 มีข้อมูลที่แสดงว่าต้องผลิตด้วยจำนวนเท่าไร และเริ่มต้น-สิ้นสุดการผลิตวันไหน เป็นต้น
------------------------------------------------------------------------------------------------
ขั้นตอนที 5 : โปรแกรมทำการแตก BOM (Explosion) ไปยัง level ถัดลงมาในโครงสร้าง BOM โดยยังคงกลับไปใช้วิธีการตั้งแต่ขั้นที่ 1 จนถึงขั้นที่ 4 ใหม่
โปรแกรมจัดการด้วยวิธีเดียวกันกับทุกรายการในโครงสร้าง BOM โดยในอดีตเมื่อ 10 กว่าปีที่แล้ว โปรแกรมบางยี่ห้อ อาจใช้เวลานาน นับสิบชั่วโมง เพื่อให้ทำงานและแตก BOM ได้ครบทุกรายการ แต่มาปัจจุบันทั้ง hardware และ software มีความสามารถที่สูงขึ้น ทำให้ใช้เวลาในการทำงานน้อยลงไปมาก
ผลพลอยได้จากการคำนวณ MRP คือ ระบบคำนวณกำลังการผลิตที่ต้องการใช้ให้ด้วย โดยถ้าพบว่า ในช่วงเวลาใด ที่มีการใช้กำลังการผลิตมากเกินที่มีให้ ก็จะแสดงข้อมูล overload ให้เห็น ซึ่งผู้วางแผนต้องไปพิจารณาต่อไป ว่าควรจะรับมืออย่างไร เช่น เพิ่มเวลา OT เพื่อเพิ่มกำลังการผลิตในช่วงเวลาที่เพิ่มขึ้นมา หรือผู้วางแผนอาจทำการขยับวันที่ต้องการใช้ ไปอยู่ในวันอื่น ที่ยังมีกำลังการผลิตเหลือ เป็นต้น
------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความนี้ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
วันจันทร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
อยากรู้ : การจัดเส้นทางท่องเที่ยวยะลา ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ ด้วยระยะทางสั้นสุด
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่างการ optimization เส้นทางท่องเที่ยวทั่วจังหวัดยะลา โดยต้องให้ผ่านทุกอำเภอ ด้วยระยะทางรวมสั้นที่สุด
ตัวแบบทดสอบใช้ model การคำนวณแบบ Evolutionary
ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ เส้นทางระหว่างอำเภอ เป็นการจำลองเพียงเส้นทางเดียว แต่ในชีวิตจริง การเดินทางระหว่างอำเภอ อาจมีได้หลายทาง
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
-------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
วันอาทิตย์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
อยากรู้ : ระบบ ERP คืออะไร?
อยากรู้ : ระบบ ERP คืออะไร?
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
ระบบ ERP ย่อมาจากคำว่า Enterprise Resource Planning เป็นระบบที่กล่าวถึงการบริหารข้อมูลภายในองค์กร
โดยทั่วไป อาจพูดได้ว่า ในระบบ ERP ประกอบด้วยการทำงานหลักๆ ดังนี้
- ระบบการขาย หมายถึง การขายสินค้าให้กับลูกค้า
- ระบบการวางแผนและการผลิต หมายถึง การวางแผนและการผลิตสินค้า
- ระบบการจัดซื้อ หมายถึง การจัดซื้อวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
- ระบบบัญชี หมายถึง การรับเงินจากลูกค้า และการจ่ายเงินให้แก่ vendor
--------------------------------------------------------------------------
นอกเหนือจากการทำงานข้างต้นแล้ว ในบางครั้งในระบบ ERP ยังมีส่วนเพิ่มเติม เช่น ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล, ระบบการซ่อมบำรุง และระบบจัดจัดการคุณภาพ เป็นต้น
--------------------------------------------------------------------------
สำหรับระบบงานที่เป็นส่วน advance ขึ้นไปจากระบบ ERP อาจมีการพูดถึง ระบบ APS (Advance Planning System) , ระบบ CRM (Customer Relationship Management) เป็นต้น
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
--------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
ระบบ ERP ย่อมาจากคำว่า Enterprise Resource Planning เป็นระบบที่กล่าวถึงการบริหารข้อมูลภายในองค์กร
โดยทั่วไป อาจพูดได้ว่า ในระบบ ERP ประกอบด้วยการทำงานหลักๆ ดังนี้
- ระบบการขาย หมายถึง การขายสินค้าให้กับลูกค้า
- ระบบการวางแผนและการผลิต หมายถึง การวางแผนและการผลิตสินค้า
- ระบบการจัดซื้อ หมายถึง การจัดซื้อวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
- ระบบบัญชี หมายถึง การรับเงินจากลูกค้า และการจ่ายเงินให้แก่ vendor
--------------------------------------------------------------------------
นอกเหนือจากการทำงานข้างต้นแล้ว ในบางครั้งในระบบ ERP ยังมีส่วนเพิ่มเติม เช่น ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล, ระบบการซ่อมบำรุง และระบบจัดจัดการคุณภาพ เป็นต้น
--------------------------------------------------------------------------
สำหรับระบบงานที่เป็นส่วน advance ขึ้นไปจากระบบ ERP อาจมีการพูดถึง ระบบ APS (Advance Planning System) , ระบบ CRM (Customer Relationship Management) เป็นต้น
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
--------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
อยากรู้ : การ Optimize เพื่อจัด เส้นทางบินของโดรนให้สั้นที่สุด และครอบคลุมทุกอำเภอ (ปัตตานี)
อยากรู้ : การ Optimize เพื่อจัด เส้นทางบินของโดรนให้สั้นที่สุด และครอบคลุมทุกอำเภอ (ปัตตานี)
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่างการ optimize เส้นทางบินโดรน ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ โดยมีระยะทางรวมสั้นสุด
ทั้งนี้ ได้เสนอวิธีการคิด ในกรณีที่ จำนวนอำเภอต่อโดรนไม่เท่ากัน โดยคงใช้ตัวแบบทดสอบที่มีรูปร่างเหมือนเดิม และใช้ model การคำนวณแบบ Evolutionary
ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ เส้นทางระหว่างอำเภอ เป็นการจำลองเพียงเส้นทางเดียว แต่ในชีวิตจริง การเดินทางระหว่างอำเภอ อาจมีได้หลายทาง
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่างการ optimize เส้นทางบินโดรน ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ โดยมีระยะทางรวมสั้นสุด
ทั้งนี้ ได้เสนอวิธีการคิด ในกรณีที่ จำนวนอำเภอต่อโดรนไม่เท่ากัน โดยคงใช้ตัวแบบทดสอบที่มีรูปร่างเหมือนเดิม และใช้ model การคำนวณแบบ Evolutionary
ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ เส้นทางระหว่างอำเภอ เป็นการจำลองเพียงเส้นทางเดียว แต่ในชีวิตจริง การเดินทางระหว่างอำเภอ อาจมีได้หลายทาง
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
วันอังคารที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
อยากรู้ : การ Optimize เพื่อจัด เส้นทางบินของโดรนให้สั้นที่สุด และครอบคลุมทุกอำเภอ (นราธิวาส)
อยากรู้ : การ Optimize เพื่อจัด เส้นทางบินของโดรนให้สั้นที่สุด และครอบคลุมทุกอำเภอ (นราธิวาส)
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
---------------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่างการ optimize เส้นทางบินโดรน ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ โดยมีระยะทางรวมสั้นสุด
บทความนี้ ใช้วิธีการ optimization แบบ Evolutionary ทำให้ค้นหาคำตอบได้ละเอียดและรวดเร็วขึ้นมากกว่าแบบ Linear Programming มาก
ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ เส้นทางระหว่างอำเภอ เป็นการจำลองเพียงเส้นทางเดียว แต่ในชีวิตจริง การเดินทางระหว่างอำเภอ อาจมีได้หลายทาง
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
---------------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่างการ optimize เส้นทางบินโดรน ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ โดยมีระยะทางรวมสั้นสุด
บทความนี้ ใช้วิธีการ optimization แบบ Evolutionary ทำให้ค้นหาคำตอบได้ละเอียดและรวดเร็วขึ้นมากกว่าแบบ Linear Programming มาก
ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ เส้นทางระหว่างอำเภอ เป็นการจำลองเพียงเส้นทางเดียว แต่ในชีวิตจริง การเดินทางระหว่างอำเภอ อาจมีได้หลายทาง
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
วันเสาร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
อยากรู้ : การ Optimize เส้นทางบินของโดรน ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ โดยมีระยะทางรวมสั้นสุด
อยากรู้ : การ Optimize เส้นทางบินของโดรน ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ โดยมีระยะทางรวมสั้นสุด
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
---------------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่างการ optimize เส้นทางบินโดรน ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ โดยมีระยะทางรวมสั้นสุด
ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ เส้นทางระหว่างอำเภอ เป็นการจำลอง โดยสมมุติว่า มีเพียงเส้นทางเดียว แต่ในชีวิตจริง การเดินทางระหว่างอำเภอ อาจมีได้หลายเส้นทาง ดูจาก google map จะเห็นได้ชัดเจนขึ้น
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
-----------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
---------------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่างการ optimize เส้นทางบินโดรน ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ โดยมีระยะทางรวมสั้นสุด
ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ เส้นทางระหว่างอำเภอ เป็นการจำลอง โดยสมมุติว่า มีเพียงเส้นทางเดียว แต่ในชีวิตจริง การเดินทางระหว่างอำเภอ อาจมีได้หลายเส้นทาง ดูจาก google map จะเห็นได้ชัดเจนขึ้น
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
-----------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
วันพุธที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
อยากรู้ : การ Optimize จำนวนโดรนให้น้อยที่สุด และครอบคลุม 3 จังหวัดชายแดนใต้
อยากรู้ : การ Optimize จำนวนโดรนให้น้อยที่สุด และครอบคลุม 3 จังหวัดชายแดนใต้
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม
โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน
ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
---------------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model)
ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่างการ optimize จำนวนโดรนให้น้อยสุด เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่มากสุด
1. เริ่มจากตรวจสอบพื้นที่ใน 3 จังหวัด และวิเคราะห์ว่ามีอำเภออะไรบ้างที่มีพื้นที่ติดกัน
2. และกำหนดให้สร้างเป็นเมตริกซ์
o พื้นที่ติดกัน ได้ค่า 1
o พื้นที่ไม่ติดกัน ได้ค่า 0
3. ข้อมูลดังกล่าว ต้องคิดหาโมเดลมาจำลองข้อมูลเพื่อให้ได้ฐานการติดตั้งโดรนที่มี
จำนวนน้อยสุด โดยยังสามารถให้บริการพื้นที่ติดกันได้
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม
โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน
ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
---------------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model)
ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่างการ optimize จำนวนโดรนให้น้อยสุด เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่มากสุด
1. เริ่มจากตรวจสอบพื้นที่ใน 3 จังหวัด และวิเคราะห์ว่ามีอำเภออะไรบ้างที่มีพื้นที่ติดกัน
2. และกำหนดให้สร้างเป็นเมตริกซ์
o พื้นที่ติดกัน ได้ค่า 1
o พื้นที่ไม่ติดกัน ได้ค่า 0
3. ข้อมูลดังกล่าว ต้องคิดหาโมเดลมาจำลองข้อมูลเพื่อให้ได้ฐานการติดตั้งโดรนที่มี
จำนวนน้อยสุด โดยยังสามารถให้บริการพื้นที่ติดกันได้
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
วันอังคารที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
อยากรู้ : การใช้ Optimizer เพื่อวัดประสิทธิภาพการผลิต ภายในกลุ่มเดียวกัน
อยากรู้ : การใช้ Optimizer เพื่อวัดประสิทธิภาพการผลิต ภายในกลุ่มเดียวกัน
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้นเพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
การวัดผลผลิตในอุตสาหกรรมต่างๆ อาจทำได้หลายวิธี เช่น การวัดจากผลผลิต (Productivity) ซึ่งเป็นการวัดสำหรับแต่ละหน่วยผลิต แต่เมื่อต้องการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ระหว่างหน่วยผลิตที่มีคุณสมบัติคล้ายกัน หรือการวัดประสิทธิภาพจากผลผลิต (Efficiency) ดังตัวอย่างด้านล่าง
-------------------------------------------------
1. productivity = output / input
สมาชิกแต่ละหน่วยจะมี productivity
เช่น หน่วยผลิต 1 มี productivity = output / input = 4/5 = 0.8
หน่วยผลิต 2 มี productivity = output / input = 6/8 = 0.75
-------------------------------------------------
2. การหาประสิทธิภาพ (Efficiency)
โดยต้องหาค่า productivity ที่ดีที่สุดของสมาชิก
จากนั้นนำค่า productivity ของแต่ละสมาชิกมา
เปรียบเทียบกับค่า productivity ที่ดีที่สุดในกลุ่ม
ดังนั้น Efficiency ที่ดีที่สุดจะมีค่า = 1 เสมอ
หน่วยผลิต 1 มี efficiency = 0.8 / 0.8 = 1
หน่วยผลิต 2 มี efficiency = 0.75 / 0.8 = 0.9375
---------------------------------------------------
ในการบรรยายนี้ ได้เลือกใช้เทคนิคของ DEA (Data Enveloped Analysis) มาช่วยในการหา efficiency ของแต่ละหน่วยผลิต โดยใช้ optimizer ในการค้นหาน้ำหนักที่ดีที่สุด เพื่อให้ได้ค่า input และ output ที่ดีที่สุด
---------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความนี้ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้นเพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
-------------------------------------------------
1. productivity = output / input
สมาชิกแต่ละหน่วยจะมี productivity
เช่น หน่วยผลิต 1 มี productivity = output / input = 4/5 = 0.8
หน่วยผลิต 2 มี productivity = output / input = 6/8 = 0.75
-------------------------------------------------
2. การหาประสิทธิภาพ (Efficiency)
โดยต้องหาค่า productivity ที่ดีที่สุดของสมาชิก
จากนั้นนำค่า productivity ของแต่ละสมาชิกมา
เปรียบเทียบกับค่า productivity ที่ดีที่สุดในกลุ่ม
ดังนั้น Efficiency ที่ดีที่สุดจะมีค่า = 1 เสมอ
หน่วยผลิต 1 มี efficiency = 0.8 / 0.8 = 1
หน่วยผลิต 2 มี efficiency = 0.75 / 0.8 = 0.9375
---------------------------------------------------
ในการบรรยายนี้ ได้เลือกใช้เทคนิคของ DEA (Data Enveloped Analysis) มาช่วยในการหา efficiency ของแต่ละหน่วยผลิต โดยใช้ optimizer ในการค้นหาน้ำหนักที่ดีที่สุด เพื่อให้ได้ค่า input และ output ที่ดีที่สุด
---------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความนี้ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
วันเสาร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
อยากรู้ : OEE ภาคบรรยาย
อยากรู้ : OEE ภาคบรรยาย
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้นเพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม
โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
OEE
ย่อมาจาก Overall Equipment Effectiveness เป็นแนวคิดการวัดประสิทธิภาพของเครื่องจักรประเภทหนึ่ง ผู้อ่านศึกษารายละเอียดได้จาก internet ซึ่งมีข้อมูลอยู่มากมาย แต่ที่ผมกำลังนำมาคุย
เป็นการสรุปให้เห็นแบบง่ายๆ เพื่อให้ผู้ที่เริ่มต้นศึกษา ได้เข้าใจแนวคิดก่อน
บทความก่อนหน้า
ได้อธิบายความหมายของการวัดประสิทธิภาพไปบ้างแล้ว สำหรับในบทความนี้ ได้บรรยายให้ละเอียดขึ้น
หวังว่าผู้นำแนวคิดไปใช้งาน จะเข้าใจยิ่งขึ้น
สำหรับผู้ที่สนใจบทความนี้
สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
วันอาทิตย์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2561
อยากรู้ : การ Optimize Total Changeover time ให้น้อยที่สุด (เวลาสูญเสียน้อยสุด)
อยากรู้ : การ Optimize Total Changeover time ให้น้อยที่สุด (เวลาสูญเสียน้อยสุด)
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
---------------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่างการ Optimize Total Changeover time ให้น้อยสุด
ในอุตสาหกรรมการผลิต จะพบคำว่า Changeover time อันหมายถึง เวลาที่ใช้ในการปรับหรือจัดการเครื่องจักร ก่อนที่จะลงมือผลิตสินค้าในลำดับถัดไป หรือ batch ถัดไป ขอยกตัวอย่างเพื่อความเข้าใจมากขึ้น เช่น
- การผลิตสินค้าที่มีสีต่างๆ เมื่อผลิตสีหนึ่งเสร็จ ต้องมีการล้างเครื่องให้สะอาด ก่อนลงมือผลิตสีถัดไป
- การผลิตยาที่มีเปอร์เซนต์ความบริสุทธิ์แตกต่างกัน ก็ต้องใช้เวลาในการทำความสะอาดเครื่องผสมที่แตกต่างกันด้วย โดยเฉพาะตัวยาที่มีเปอร์เซนต์ความบริสุทธิ์มาก ก็ต้องใช้เวลาในขั้นตอนทำความสะอาดมากขึ้น
เราสามารถนำข้อมูลเหล่านี้ มาวางในรูปแบบของเมตริกซ์ความสัมพันธ์ โดยที่วางแนวแถวเป็นการผลิตสินค้าลำดับต้น และแนวคอลัมภ์เป็นการผลิตสินค้าลำดับถัดมา
จากนั้นสั่งให้โปรแกรม ทำการจัดลำดับการผลิตใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์ให้ ลำดับใหม่ที่ได้นั้น มีค่า total changeover time น้อยที่สุด
จากข้อมูลดังกล่าว เจ้าของโรงงาน ต้องคิดหาโมเดลมาจำลองข้อมูลเพื่อให้ได้ค่า total changeover time ให้น้อยสุด ซึ่งหมายถึงลดเวลาสูญเสียทีเกิดขึ้น เพื่อให้ได้กำไรสูงสุดนั่นเอง
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้
---------------------------------------------------------------------------
การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล (Model) ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล
---------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่างการ Optimize Total Changeover time ให้น้อยสุด
ในอุตสาหกรรมการผลิต จะพบคำว่า Changeover time อันหมายถึง เวลาที่ใช้ในการปรับหรือจัดการเครื่องจักร ก่อนที่จะลงมือผลิตสินค้าในลำดับถัดไป หรือ batch ถัดไป ขอยกตัวอย่างเพื่อความเข้าใจมากขึ้น เช่น
- การผลิตสินค้าที่มีสีต่างๆ เมื่อผลิตสีหนึ่งเสร็จ ต้องมีการล้างเครื่องให้สะอาด ก่อนลงมือผลิตสีถัดไป
- การผลิตยาที่มีเปอร์เซนต์ความบริสุทธิ์แตกต่างกัน ก็ต้องใช้เวลาในการทำความสะอาดเครื่องผสมที่แตกต่างกันด้วย โดยเฉพาะตัวยาที่มีเปอร์เซนต์ความบริสุทธิ์มาก ก็ต้องใช้เวลาในขั้นตอนทำความสะอาดมากขึ้น
เราสามารถนำข้อมูลเหล่านี้ มาวางในรูปแบบของเมตริกซ์ความสัมพันธ์ โดยที่วางแนวแถวเป็นการผลิตสินค้าลำดับต้น และแนวคอลัมภ์เป็นการผลิตสินค้าลำดับถัดมา
จากนั้นสั่งให้โปรแกรม ทำการจัดลำดับการผลิตใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์ให้ ลำดับใหม่ที่ได้นั้น มีค่า total changeover time น้อยที่สุด
จากข้อมูลดังกล่าว เจ้าของโรงงาน ต้องคิดหาโมเดลมาจำลองข้อมูลเพื่อให้ได้ค่า total changeover time ให้น้อยสุด ซึ่งหมายถึงลดเวลาสูญเสียทีเกิดขึ้น เพื่อให้ได้กำไรสูงสุดนั่นเอง
ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ
--------------------------------------------------------------------------------------------------
สำหรับผู้ที่สนใจบทความ
สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)