วันพุธที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

อยากรู้ : MRP ภาคบรรยาย

อยากรู้ :  MRP ภาคบรรยาย
Series : Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้นเพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้

       MRP ย่อมาจาก Material Requirement Planning เป็นฟังก์ชั่นที่สำคัญ ในระบบ ERP เพื่อคำนวณแผนการผลิตและแผนการจัดซื้อ ตามความต้องการที่เกิดขึ้น แต่ผู้ใช้งานมักไม่ทราบว่า กลไกในการคำนวณ เกิดขึ้นโดยอาศัยปัจจัยอะไรบ้าง บทความนี้ จะแสดงแนวคิดพื้นฐานในการทำงานครับ มาดูกันว่า ระบบทำงานอย่างไร 

           ข้อมูลพื้นฐานที่ต้องมี สำหรับนำไปใช้ในระบบ MRP มีดังนี้
- ข้อมูล BOM การผลิต บางแห่งเรียกว่าสูตรการผลิต
- ข้อมูล Routing การผลิต บางแห่งเรียกว่าขั้นตอนการผลิต
       
 เมื่อมีข้อมูลพื้นฐานครบแล้ว แสดงว่าเราพร้อมจะคำนวณ MRP มาเริ่มกันเลย ฟังก์ชั่น MRP ทำงาน 5 ขั้นตอนด้วยกัน แต่ละขั้นตอน ได้ข้อมูลแต่ละลักษณะ
------------------------------------------------------------------------------------------------
       ขั้นตอนที่ 1 : เมื่อมีความต้องการที่มาจาก Sales forecast หรือ Sales order ของสินค้า ในที่นี้คืออยู่ที่ตำแหน่งบนสุดของโครงสร้าง BOM   โปรแกรมจะทำการตรวจสอบว่า สินค้าที่ต้องการนั้นมี stock หรือแผนการผลิตรองรับพอหรือไม่ โดยมีเงื่อนไขดังนี้
         ถ้า Sales forecast/Sales order <=  Stock/แผนการผลิต  โปรแกรมจะหยุดการทำงาน 
         ถ้า Sales forecast/Sales order >  Stock/แผนการผลิต แสดงว่าเกิดความไม่พอ (Shortage) โปรแกรมจะทำงานต่อไป
------------------------------------------------------------------------------------------------
       ขั้นตอนที่ 2 : ตรวจสอบและกำหนดขนาดของ lot size อันเนื่องมาจาก Shortage ที่เกิดขึ้นจากขั้นตอนก่อนหน้า สามารถปรับแต่งขนาดได้ เช่น ขาดเท่าไร ก็จัดหาเท่านั้น ( lot-for-lot) หรือ การจัดหา ต้องระบุขนาดคงที่เสมอ (Fix lot) เป็นต้น และโปรแกรมทำงานต่อไป
------------------------------------------------------------------------------------------------
       ขั้นตอนที่ 3 : ตรวจสอบประเภทของการจัดหา (Procurement type)  โดยมีให้เลือกทั้งที่ผลิตเอง และซื้อเข้ามา  โดยเมื่อโปรแกรมทำงานผ่านขั้นตอนนี้   จะได้ข้อมูลการจัดหาที่เริ่มเป็นรูป เป็นร่าง ขึ้นมา และโปรแกรมทำงานต่อไป
------------------------------------------------------------------------------------------------
        ขั้นตอนที่ 4 : คำนวณวันที่เริ่มการจัดหา (Scheduling time) เช่น วันที่เริ่มผลิต โดยคำนวณย้อนกลับจากวันที่ต้องการนำไปใช้ (Requirement date) หักลบด้วย เวลาที่ใช้ในการผลิต (Processing time) เป็นต้น  แผนการผลิตที่ผ่านขั้นตอนที่ 4 มีข้อมูลที่แสดงว่าต้องผลิตด้วยจำนวนเท่าไร และเริ่มต้น-สิ้นสุดการผลิตวันไหน เป็นต้น
------------------------------------------------------------------------------------------------
         ขั้นตอนที 5 : โปรแกรมทำการแตก BOM (Explosion) ไปยัง level ถัดลงมาในโครงสร้าง BOM  โดยยังคงกลับไปใช้วิธีการตั้งแต่ขั้นที่ 1 จนถึงขั้นที่ 4 ใหม่
       โปรแกรมจัดการด้วยวิธีเดียวกันกับทุกรายการในโครงสร้าง BOM  โดยในอดีตเมื่อ 10 กว่าปีที่แล้ว โปรแกรมบางยี่ห้อ อาจใช้เวลานาน นับสิบชั่วโมง เพื่อให้ทำงานและแตก BOM ได้ครบทุกรายการ  แต่มาปัจจุบันทั้ง hardware และ software มีความสามารถที่สูงขึ้น ทำให้ใช้เวลาในการทำงานน้อยลงไปมาก
   
       ผลพลอยได้จากการคำนวณ MRP คือ ระบบคำนวณกำลังการผลิตที่ต้องการใช้ให้ด้วย โดยถ้าพบว่า ในช่วงเวลาใด ที่มีการใช้กำลังการผลิตมากเกินที่มีให้ ก็จะแสดงข้อมูล overload ให้เห็น  ซึ่งผู้วางแผนต้องไปพิจารณาต่อไป ว่าควรจะรับมืออย่างไร เช่น เพิ่มเวลา OT  เพื่อเพิ่มกำลังการผลิตในช่วงเวลาที่เพิ่มขึ้นมา หรือผู้วางแผนอาจทำการขยับวันที่ต้องการใช้ ไปอยู่ในวันอื่น ที่ยังมีกำลังการผลิตเหลือ เป็นต้น

------------------------------------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความนี้ สามารถติดตามจาก

https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com


วันจันทร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

อยากรู้ : การจัดเส้นทางท่องเที่ยวยะลา ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ ด้วยระยะทางสั้นสุด


อยากรู้ :  การจัดเส้นทางท่องเที่ยวยะลา ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ ด้วยระยะทางสั้นสุด
Series :  Easy Production - Thailand 4.0

เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้

------------------------------------------------------------------

การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล  (Model)  ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
        1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
        2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล

---------------------------------------------------------------------------         

ตัวอย่างการ optimization เส้นทางท่องเที่ยวทั่วจังหวัดยะลา โดยต้องให้ผ่านทุกอำเภอ ด้วยระยะทางรวมสั้นที่สุด

ตัวแบบทดสอบใช้ model การคำนวณแบบ Evolutionary 

ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ เส้นทางระหว่างอำเภอ เป็นการจำลองเพียงเส้นทางเดียว แต่ในชีวิตจริง การเดินทางระหว่างอำเภอ อาจมีได้หลายทาง

ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ

  -------------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก

https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com



วันอาทิตย์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

อยากรู้ : ระบบ ERP คืออะไร?

อยากรู้ :  ระบบ ERP คืออะไร?
Series :  Easy Production - Thailand 4.0
เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้

------------------------------------------------------------------

ระบบ ERP ย่อมาจากคำว่า Enterprise Resource Planning  เป็นระบบที่กล่าวถึงการบริหารข้อมูลภายในองค์กร

โดยทั่วไป อาจพูดได้ว่า ในระบบ ERP ประกอบด้วยการทำงานหลักๆ ดังนี้

        - ระบบการขาย หมายถึง การขายสินค้าให้กับลูกค้า
        - ระบบการวางแผนและการผลิต หมายถึง การวางแผนและการผลิตสินค้า
        - ระบบการจัดซื้อ หมายถึง การจัดซื้อวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
        - ระบบบัญชี หมายถึง การรับเงินจากลูกค้า และการจ่ายเงินให้แก่ vendor

--------------------------------------------------------------------------         

นอกเหนือจากการทำงานข้างต้นแล้ว ในบางครั้งในระบบ ERP ยังมีส่วนเพิ่มเติม เช่น ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล, ระบบการซ่อมบำรุง และระบบจัดจัดการคุณภาพ เป็นต้น

--------------------------------------------------------------------------

สำหรับระบบงานที่เป็นส่วน advance ขึ้นไปจากระบบ ERP อาจมีการพูดถึง ระบบ APS (Advance Planning System) , ระบบ CRM (Customer Relationship Management) เป็นต้น

ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ

  --------------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก

https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com


อยากรู้ : การ Optimize เพื่อจัด เส้นทางบินของโดรนให้สั้นที่สุด และครอบคลุมทุกอำเภอ (ปัตตานี)

อยากรู้ :  การ Optimize เพื่อจัด เส้นทางบินของโดรนให้สั้นที่สุด และครอบคลุมทุกอำเภอ (ปัตตานี)
Series :  Easy Production - Thailand 4.0

เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้

------------------------------------------------------------------

การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล  (Model)  ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
     1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
     2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล

---------------------------------------------------------------------------         

ตัวอย่างการ optimize เส้นทางบินโดรน ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ โดยมีระยะทางรวมสั้นสุด

ทั้งนี้ ได้เสนอวิธีการคิด ในกรณีที่ จำนวนอำเภอต่อโดรนไม่เท่ากัน โดยคงใช้ตัวแบบทดสอบที่มีรูปร่างเหมือนเดิม และใช้ model การคำนวณแบบ Evolutionary 

ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ เส้นทางระหว่างอำเภอ เป็นการจำลองเพียงเส้นทางเดียว แต่ในชีวิตจริง การเดินทางระหว่างอำเภอ อาจมีได้หลายทาง

ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ

  --------------------------------------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก

https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com


วันอังคารที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

อยากรู้ : การ Optimize เพื่อจัด เส้นทางบินของโดรนให้สั้นที่สุด และครอบคลุมทุกอำเภอ (นราธิวาส)

อยากรู้ :  การ Optimize เพื่อจัด เส้นทางบินของโดรนให้สั้นที่สุด และครอบคลุมทุกอำเภอ (นราธิวาส)
Series :  Easy Production - Thailand 4.0

เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้

---------------------------------------------------------------------------

การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล  (Model)  ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
        1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
        2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล

---------------------------------------------------------------------------       

ตัวอย่างการ optimize เส้นทางบินโดรน ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ โดยมีระยะทางรวมสั้นสุด

บทความนี้ ใช้วิธีการ optimization แบบ Evolutionary ทำให้ค้นหาคำตอบได้ละเอียดและรวดเร็วขึ้นมากกว่าแบบ Linear Programming มาก

ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ เส้นทางระหว่างอำเภอ เป็นการจำลองเพียงเส้นทางเดียว แต่ในชีวิตจริง การเดินทางระหว่างอำเภอ อาจมีได้หลายทาง

ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ

  ------------------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก

https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com



วันเสาร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

อยากรู้ : การ Optimize เส้นทางบินของโดรน ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ โดยมีระยะทางรวมสั้นสุด

อยากรู้ :  การ Optimize เส้นทางบินของโดรน ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ โดยมีระยะทางรวมสั้นสุด
Series :  Easy Production - Thailand 4.0

เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้


---------------------------------------------------------------------------

การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล  (Model)  ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่

- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
        1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
        2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล

---------------------------------------------------------------------------         

ตัวอย่างการ optimize เส้นทางบินโดรน ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ โดยมีระยะทางรวมสั้นสุด

ข้อสังเกตของบทความนี้ คือ เส้นทางระหว่างอำเภอ เป็นการจำลอง โดยสมมุติว่า มีเพียงเส้นทางเดียว แต่ในชีวิตจริง การเดินทางระหว่างอำเภอ อาจมีได้หลายเส้นทาง ดูจาก google map จะเห็นได้ชัดเจนขึ้น

ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ

-----------------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก

https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com





วันพุธที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

อยากรู้ : การ Optimize จำนวนโดรนให้น้อยที่สุด และครอบคลุม 3 จังหวัดชายแดนใต้

อยากรู้ :  การ Optimize จำนวนโดรนให้น้อยที่สุด และครอบคลุม 3 จังหวัดชายแดนใต้
Series :  Easy Production - Thailand 4.0

เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้น เพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม
โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน
ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้

---------------------------------------------------------------------------

การ optimize จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีการวางรูปแบบที่เรียกว่า โมเดล  (Model)
ในแต่ละโมเดล ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่

- Objective คือ วัตถุประสงค์ในการทำ optimize มีหลักการทำงาน 2 แบบใหญ๋ๆ คือ
        1.เพื่อให้ได้ค่าสูงสุด ในที่นี้ เช่นต้องการให้ได้กำไรมากที่สุด
        2.เพื่อให้ได้ค่าต่ำสุด เช่น ต้องการให้เกิดต้นทุนต่ำสุด
- Variable คือ ตัวแปรที่ต้องการให้ระบบหาคำตอบให้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
- Constraint คือ ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ใช้ในแต่ละโมเดล

---------------------------------------------------------------------------       

ตัวอย่างการ optimize จำนวนโดรนให้น้อยสุด เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่มากสุด

1. เริ่มจากตรวจสอบพื้นที่ใน 3 จังหวัด และวิเคราะห์ว่ามีอำเภออะไรบ้างที่มีพื้นที่ติดกัน
2. และกำหนดให้สร้างเป็นเมตริกซ์
o พื้นที่ติดกัน ได้ค่า 1
o พื้นที่ไม่ติดกัน ได้ค่า 0
3. ข้อมูลดังกล่าว ต้องคิดหาโมเดลมาจำลองข้อมูลเพื่อให้ได้ฐานการติดตั้งโดรนที่มี
จำนวนน้อยสุด โดยยังสามารถให้บริการพื้นที่ติดกันได้

ผู้สนใจ ศึกษาการทำงานเบื้องต้นจากไฟล์ประกอบ

--------------------------------------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความ สามารถติดตามจาก

https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com






วันอังคารที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

อยากรู้ : การใช้ Optimizer เพื่อวัดประสิทธิภาพการผลิต ภายในกลุ่มเดียวกัน

อยากรู้ :  การใช้ Optimizer เพื่อวัดประสิทธิภาพการผลิต ภายในกลุ่มเดียวกัน
Series : Easy Production - Thailand 4.0

เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้นเพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้


การวัดผลผลิตในอุตสาหกรรมต่างๆ อาจทำได้หลายวิธี เช่น การวัดจากผลผลิต (Productivity) ซึ่งเป็นการวัดสำหรับแต่ละหน่วยผลิต   แต่เมื่อต้องการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ระหว่างหน่วยผลิตที่มีคุณสมบัติคล้ายกัน หรือการวัดประสิทธิภาพจากผลผลิต (Efficiency) ดังตัวอย่างด้านล่าง

-------------------------------------------------

1. productivity = output / input
    สมาชิกแต่ละหน่วยจะมี productivity
     เช่น หน่วยผลิต 1 มี productivity = output / input = 4/5 = 0.8
           หน่วยผลิต 2 มี productivity = output / input = 6/8 = 0.75

-------------------------------------------------

2. การหาประสิทธิภาพ (Efficiency)
     โดยต้องหาค่า productivity ที่ดีที่สุดของสมาชิก
 
    จากนั้นนำค่า productivity ของแต่ละสมาชิกมา
    เปรียบเทียบกับค่า productivity ที่ดีที่สุดในกลุ่ม
 
     ดังนั้น Efficiency ที่ดีที่สุดจะมีค่า = 1 เสมอ
            หน่วยผลิต 1 มี efficiency = 0.8 / 0.8 = 1
            หน่วยผลิต 2 มี efficiency = 0.75 / 0.8 = 0.9375

---------------------------------------------------

ในการบรรยายนี้ ได้เลือกใช้เทคนิคของ DEA (Data Enveloped Analysis) มาช่วยในการหา efficiency ของแต่ละหน่วยผลิต โดยใช้ optimizer ในการค้นหาน้ำหนักที่ดีที่สุด เพื่อให้ได้ค่า input และ output ที่ดีที่สุด

---------------------------------------------------------------------

สำหรับผู้ที่สนใจบทความนี้ สามารถติดตามจาก

https://www.facebook.com/ConsultChorn
https://consultchorn.blogspot.com




วันเสาร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

อยากรู้ : OEE ภาคบรรยาย

อยากรู้ :  OEE ภาคบรรยาย
Series : Easy Production - Thailand 4.0

เกริ่นนำ : บทความเหล่านี้เขียนขึ้นเพื่อเล่าเรื่องการผลิตในอุตสาหกรรม โดยใช้ประสบการณ์ของผู้เขียน เนื้อหาแบ่งเป็นหลายตอน ผู้อ่านสามารถเลือกเฉพาะบทความที่สนใจได้

OEE ย่อมาจาก Overall Equipment  Effectiveness เป็นแนวคิดการวัดประสิทธิภาพของเครื่องจักรประเภทหนึ่ง  ผู้อ่านศึกษารายละเอียดได้จาก internet ซึ่งมีข้อมูลอยู่มากมาย แต่ที่ผมกำลังนำมาคุย เป็นการสรุปให้เห็นแบบง่ายๆ เพื่อให้ผู้ที่เริ่มต้นศึกษา ได้เข้าใจแนวคิดก่อน

บทความก่อนหน้า ได้อธิบายความหมายของการวัดประสิทธิภาพไปบ้างแล้ว สำหรับในบทความนี้ ได้บรรยายให้ละเอียดขึ้น หวังว่าผู้นำแนวคิดไปใช้งาน จะเข้าใจยิ่งขึ้น


สำหรับผู้ที่สนใจบทความนี้ สามารถติดตามจาก
https://www.facebook.com/ConsultChorn

https://consultchorn.blogspot.com